ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จิตวิทยาคลินิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: เพิ่มรายการยาว ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 7:
นักจิตวิทยาคลินิก คือ ผู้ที่สำเร็จการศึกษาด้านจิตวิทยาสาขาจิตวิทยาคลินิก (Clinical psychology) และมี[[ใบประกอบโรคศิลปะสาขาจิตวิทยาคลินิก]]
นักจิตวิทยาคลินิกส่วนใหญ่ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในหน่วยงานทางการแพทย์และสถานพยาบาลต่างๆ นักจิตวิทยาคลินิกเป็นส่วนหนึ่งของทีมผู้ให้การรักษาทางการแพทย์ อาทิงาน[[จิตเวชศาสตร์]](Psychiatry) งานระบบประสาทและสมอง(Neuroscience) งานเวชกรรมป้องกัน งาน[[เวชศาสตร์ฟื้นฟู]] งานยาเสพติด จิตเวชเด็กและวัยรุ่น งานเวชศาสตร์ครอบครัว งานนิติจิตเวช เป็นต้น
 
อาชีพหลังเรียนจบ ได้แก่
 
* นักจิตวิทยาคลินิก
 
* ผู้ให้คำปรึกษาทางจิตวิทยา
* นักวิชาการด้านสุขภาพจิต
 
'''บทบาทหน้าที่หลักของนักจิตวิทยาคลินิก''' ได้แก่ งาน'''ตรวจวินิจฉัย'''และการ'''บำบัดรักษา''' ผู้ที่มีปัญหาทางจิตใจ ความคิด อารมณ์ พฤติกรรม และสัมพันธภาพ ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งผู้ป่วยจิตเวชหรือบุคคลทั่วไปที่อาจมีปัญหาดังกล่าว อาทิผู้มีสภาพจิตใจย่ำแย่หลังจากประสบเหตุการณ์ร้ายแรงหรือความเครียดต่างๆ ทั้งที่เป็นแบบชั่วคราวหรือถาวร การบำบัดรักษาจะช่วยให้อาการเหล่านั้นบรรเทาลง และช่วยให้บุคคลเกิดการปรับตัวต่อสถานการณ์และใช้ชีวิตต่อไปได้อย่างมีความสุขมากขึ้น นอกเหนือจากนี้ นักจิตวิทยาคลินิกยังมีบทบาทในงานส่งเสริมป้องกันหรืองานจิตเวชชุมชน งานวิจัย ตลอดจนการดูแลฝึกอบรม
 
'''[http://thaiclinicpsy.org/new/index.php/news-and-events/faq การสอบความรู้เพื่อขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ (License) สาขาจิตวิทยาคลินิก]'''
 
เนื่องจากวิชาชีพจิตวิทยาคลินิกมีลักษณะการทำงานที่มีแนวปฏิบัติแตกต่างจากวิชาชีพจิตวิทยาสาขาอื่น โดยเฉพาะในด้านการตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยา ในปีพุทธศักราช 2546 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้า ให้ตราพระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขาจิตวิทยาคลินิกเป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2546 ณ วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ซึ่งเหตุผลหนึ่งในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้คือ '''''สาขาจิตวิทยาคลินิกเป็นสาขาหนึ่งที่กระทำต่อมนุษย์โดยตรง การวินิจฉัย การบำบัดความผิดปกติทางจิตอันเนื่องมาจากภาวะทางจิตใจ บุคลิกภาพ เชาวน์ปัญญา อารมณ์ พฤติกรรมการปรับตัว ความเครียด หรือพฤติกรรมผิดปกติอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพทางสมอง ด้วยวิธีเฉพาะทางจิตวิทยาคลินิก''''' อันเป็นประโยชน์ต่อประชาชนที่มารับบริการ
 
โดยมีค่าสอบใบประกอบโรคศิลปะ 25,000 บาท (ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมเพื่อการลงทะเบียนสมัครสอบ 1,050 บาท) และต้องต่ออายุใบอนุญาตให้ประกอบโรคศิลปะต้องเก็บหน่วยคะแนนหรือเครดิตการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง จํานวน 50 หน่วยคะแนน ภายใน 5 ปีก่อนวันครบกําหนดอายุใบอนุญาต
 
โดยเนื้อหาการสอบประกอบไปด้วย [http://thaiclinicpsy.org/new/attachments/article/567/tcpa_567_2.pdf (สมาคมนักจิตวิทยาคลินิกไทย)]
 
# การสอบข้อเขียน : ทุกวิชาต้องผ่าน 60% ขึ้นไป
## วิชากฎหมายที่เกี่ยวกับวิชาชีพ (ปรนัย 50 ข้อ)
##* พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
##* พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
## วิชาชีพจิตวิทยาคลินิก
##* ปรนัย 100 ข้อ 60 คะแนน
##** การตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยาคลินิก
##** การบําบัดทางจิตวิทยาคลินิก
##** จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพของผู้ประกอบโรคศิลปะ
##** การศึกษาค้นคว้าวิจัยทางจิตวิทยาคลินิก
##** การประยุกต์จิตวิทยาคลินิกเข้าสู่ชุมชน และศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
##* ข้อสอบอัตนัย 40 คะแนน - มีเนื้อหาเกี่ยวกับทักษะ การตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยาคลินิก
# สอบสัมภาษณ์ (สามารถสอบได้เมื่อสอบผ่านรอบการสอบข้อเขียน)
 
ช่องทางการรับสมัครสอบ มีดังนี้
 
# สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด
# ยื่นผ่านระบบออนไลน์ htpps://mrd-hss.thaijobjob.com
# ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ ชั้น 1 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
 
ผู้ที่จบการศึกษาสาขาจิตวิทยาคลินิก แต่ยังไม่ได้รับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะสาขาจิตวิทยาคลินิก จะสามารถปฏิบัติงานทางจิตวิทยาคลินิกได้โดยปฏิบัติงานอยู่ภายใต้การดูแลของผู้มีใบประกอบโรคศิลปะสาขาจิตวิทยาคลินิก แต่ไม่มีสิทธ์เซ็นต์เอกสารใบรับรองที่มีผลผูกพันทางกฎหมาย
 
* ผู้ที่จบการศึกษาปริญญาตรีหรือปริญญาโทสาขาอื่นนอกเหนือจากจิตวิทยาคลินิก ไม่สามารถสอบ License จิตวิทยาคลินิกได้
* หากไม่ผ่านหลักสูตร internship จะไม่สามารถสอบ License ได้
* เมื่อไปทำงานที่ประเทศใดก็ต้องสอบ License ประเทศที่นั้น
* ผู้ที่จบหลักสูตรจิตวิทยาคลินิกจากต่างประเทศ สามารถสมัครหลักสูตร internship เพื่อสอบ License โดยทำเรื่องเสนอคณะกรรมการวิชาชีพสาขาจิตวิทยาคลินิก พิจารณารับรองคุณสมบัติ
 
== จิตวิทยาคลินิกกับงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู ==
เส้น 24 ⟶ 66:
ปัจจุบัน นักจิตวิทยาคลินิกในประเทศไทยปฏิบัติงานอยู่ตามโรงพยาบาลต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
ได้แก่ โรงพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์(ประจำจังหวัด) โรงพยาบาลประจำอำเภอใหญ่ๆ โรงพยาบาลจิตเวช โรงพยาบาลประสาท(ระบบประสาทและสมอง) ตลอดจนโรงพยาบาลในสังกัดสถาบันการศึกษาต่างๆ
สถาบันด้านพัฒนาการเด็กและวันรุ่นรุ่ย สถาบันธัญญารักษ์ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน โรงเรียนเด็กพิเศษ และศูนย์บริการสาธารณะสุขเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น
 
เนื่องจากข้อจำกัดด้านการเรียนการสอนสาขาจิตวิทยาคลินิกในประเทศไทย จึงมีจำนวนผู้ที่ปฏิบัติงานในวิชาชีพนี้จำนวนไม่มากนัก โดยในปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีนักจิตวิทยาคลินิกที่มีใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะประมาณ 700 คน (ข้อมูล พ.ศ. 2560)
เส้น 54 ⟶ 96:
|<small>วท.บ. (จิตวิทยา)</small>
<small>B.Sc. (Psychology)</small>
|https://arts.tu.ac.th/undergraduate (ปีการศึกษา 2564 ไม่เปิดสอนจิตวิทยาคลินิก)
|-
|<small>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์</small>
เส้น 142 ⟶ 184:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}ข้อมูลหลักสูตรจิตวิทยาคลินิก ปีการศึกษา 2564 โดย Be PSY You https://www.facebook.com/media/set/?vanity=bepsyyou&set=a.156124246143570<nowiki/>{{เริ่มอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* ดัดแปลงจากตำราเวชศาสตร์ฟื้นฟู นพ.เสก อักษรานุเคราะห์ บก. จัดพิมพ์โดยสมาคมเวชศาสตร์ฟื้นฟูแห่งประเทศไทย.
{{จบอ้างอิง}}