ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำดับเรขาคณิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peath (คุย | ส่วนร่วม)
Peath ย้ายหน้า การก้าวหน้าเรขาคณิต ไปยัง ลำดับเรขาคณิต ทับหน้าเปลี่ยนทาง: เป็นศัพท์บัญญัติตามกำหนดราชบัณฑิตยสภาไทย ชื่อ "ความก้าวหน้าทางเรขาคณิต" อาจเป็นการแปลตรงตัวมาจากภาษาอังกฤษ
Peath (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมศัพท์บัญญัติ
บรรทัด 1:
ในทาง[[คณิตศาสตร์]] '''ลำดับเรขาคณิต''' ({{lang-en|geometric sequence}}) คือ[[ลำดับ]]ของ[[จำนวน]]ซึ่ง[[อัตราส่วน]]ของสมาชิกสองตัวที่อยู่ติดกันในลำดับเป็น[[ค่าคงตัว]]ที่ไม่เป็นศูนย์ ซึ่งอัตราส่วนนั้นเรียกว่า ''อัตราส่วนร่วม'' (common ratio) ตัวอย่างเช่น ลำดับ 2, 6, 18, 54, ... เป็นการก้าวหน้าลำดับเรขาคณิตซึ่งมีอัตราส่วนทั่วไปร่วมเท่ากับ 3 และลำดับ 10, 5, 2.5, 1.25, ... มีอัตราส่วนเท่ากับ 0.5 เป็นต้น
 
ถ้าหากพจน์เริ่มต้นของลำดับเรขาคณิตลำดับหนึ่งคือ ''a''<sub>1</sub> และมีอัตราส่วนร่วม ''r'' ≠ 0 ดังนั้นพจน์ที่ ''n'' ของลำดับนี้คือ
บรรทัด 9:
 
== สมบัติเบื้องต้น ==
การที่จะทำให้ทราบได้ว่าลำดับที่กำหนดให้เป็นลำดับเรขาคณิตหรือไม่ สามารถตรวจสอบได้จากอัตราส่วนของพจน์ที่อยู่ติดกัน ซึ่งจะมีค่าเท่ากันทั้งลำดับ อัตราส่วนร่วมอาจเป็นค่าติดลบก็ได้ ซึ่งจะทำให้เกิดลำดับสลับเครื่องหมาย หมายความว่าจำนวนจะสลับเครื่องหมายบวกลบตลอดทั้งลำดับ เช่น 1, −3, 9, −27, 81, −243, ... เป็นการก้าวหน้าลำดับเรขาคณิตซึ่งมีอัตราส่วนทั่วไปร่วมเท่ากับ −3
 
พฤติกรรมของจำนวนในการลำดับเรขาคณิตขึ้นอยู่กับค่าของอัตราส่วนร่วม ดังนี้
บรรทัด 19:
* ถ้าเท่ากับ −1 ลำดับนั้นจะมีเครื่องหมายบวกลบสลับกัน แต่ค่าตัวเลขไม่เปลี่ยนแปลง
* ถ้าน้อยกว่า −1 [[ค่าสัมบูรณ์]]ของพจน์ต่างๆ จะ[[การเพิ่มแบบชี้กำลัง|เพิ่มแบบชี้กำลัง]]ไปยัง[[อนันต์]]
จะเห็นว่าลำดับเรขาคณิต (ที่มีอัตราส่วนไม่ใช่ −1, 1 หรือ 0) แสดงให้เห็นถึงการเพิ่มหรือการลดแบบชี้กำลัง ต่างกับการเพิ่ม (หรือลด) แบบเชิงเส้นของ[[การก้าวหน้าเลขคณิต|ลำดับเลขคณิต]] แต่การก้าวหน้าลำดับทั้งสองชนิดก็มีความเกี่ยวข้องกัน นั่นคือ ถ้าหากใส่[[ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง]]ลงในทุกพจน์ของการก้าวหน้าลำดับเลขคณิตก็จะได้การก้าวหน้าได้ลำดับเรขาคณิต และหากใส่[[ฟังก์ชันลอการิทึม]]ลงในทุกพจน์ของการก้าวหน้าลำดับเรขาคณิตก็จะได้การก้าวหน้าได้ลำดับเลขคณิต
 
== ผลรวม ==
บรรทัด 44:
 
=== อนุกรมเรขาคณิตไม่จำกัด ===
'''อนุกรมเรขาคณิตไม่จำกัด''' คือ[[อนุกรม]]เรขาคณิตที่มีจำนวนพจน์ไม่จำกัดหรือเป็นจำนวนอนันต์ อนุกรมนี้จะลู่เข้าค่าใดค่าหนึ่งก็ต่อเมื่อ [[ค่าสัมบูรณ์]]ของอัตราส่วนทั่วไปร่วมมีค่าน้อยกว่าหนึ่ง (<math>|r| < 1</math>) ค่าของอนุกรมเรขาคณิตไม่จำกัดสามารถคำนวณได้จากสูตรของผลรวมจำกัด
:: <math>\sum_{k=0}^\infty ar^k = \lim_{n\to\infty}{\sum_{k=0}^{n} ar^k} = \lim_{n\to\infty}\frac{a(1-r^{n+1})}{1-r}= \lim_{n\to\infty}\frac{a}{1-r} - \lim_{n\to\infty}{\frac{ar^{n+1}}{1-r}} </math>
 
บรรทัด 63:
 
;พิสูจน์
กำหนดให้ผลคูณของการก้าวหน้าลำดับเลขคณิตแทนด้วย ''P''
:: <math>P=a \cdot ar \cdot ar^2 \cdots ar^{n-1} \cdot ar^{n}</math>