ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bact (คุย | ส่วนร่วม)
remove extra space before <ref>
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Irish potato famine Bridget O'Donnel.jpg|thumb|240px|ภาพร่างสตรีและเด็กที่เป็นบรรยายความยากเข็ญของบริจิต โอดอนเนล จากลอนดอนนิวส์ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1849]]
{{ใช้ปีคศ|width=240px}}
'''ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์''' ({{lang-ga|An Gorta Mór}}, {{lang-en|Irish Potato Famine}}) หรือในภาษาเกลิก “An Gorta Mór” แปลตรงตัวว่า “ความโหยหิวอันยิ่งใหญ่”<ref>The term has appeared in the titles of numerous books on the event, as demonstrated by [http://www.worldcat.org/search?q=%22Gorta+Mo%CC%81r%22&=Search&qt=results_page this search on WorldCat]</ref> หรือ “An Drochshaol” ที่แปลว่า “ชีวิตอันตกอับ” เป็นสมัยที่เกิดทุพภิกขภัย โรคระบาด และการย้ายถิ่นฐานครั้งใหญ่ใน[[ไอร์แลนด์]]ระหว่างปี ค.ศ. 1845 จนถึงปี ค.ศ. 1852<ref>Kinealy (1995), xvi–ii.</ref> ซึ่งทำให้จำนวน[[ประชากร]]ลดลงไปถึงราวระหว่างร้อยละ 20 ถึง 25<ref>Christine Kinealy, This Great Calamity, Gill & Macmillan (1994), ISBN 10: 0 7171 4011 3, 357.</ref> [[ชาวไอร์แลนด์]]เสียชีวิตไปราวหนึ่งล้านคนและอีกกว่าล้านคนอพยพหนีความยากเข็ญไปประเทศอื่น<ref>David Ross, ''Ireland: History of a Nation'', New Lanark: Geddes & Grosset, 2002, p. 226. ISBN 1-84205-164-4</ref> สาเหตุของวิกฤติ[[ทุพภิกขภัย]]มาจาก[[การขาดแคลนอาหาร|ภาวะการขาดแคลนอาหาร]]ที่เกิดขึ้นเมื่อ[[รามันฝรั่ง]] (potato blight หรือ phytophthora infestans) <ref>Cormac Ó Gráda, ''Ireland's Great Famine: Interdisciplinary Perspectives'', Dublin: University College Dublin Press, 2006, p. 7. ISBN 1-904558-57-6</ref> ทำลายผลผลิตมันฝรั่งส่วนใหญ่ของไอร์แลนด์ แม้ว่าเชื้อราเดียวกันนี้จะทำลายผลผลิตของ[[มันฝรั่ง]]ไปทั่ว[[ยุโรป]]ในระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1840 เช่นกัน แต่ผลกระทบที่มีต่อชีวิตของคนในไอร์แลนด์—ซึ่งหนึ่งในสามของประชากรบริโภคมันฝรั่งเป็นอาหารหลัก—รุนแรงมากกว่าที่เกิดขึ้นในภูมิภาคอื่น ๆ อย่างไรก็ตามสาเหตุที่มาจากปัจจัยหลายอย่าง ที่รวมทั้งสภาวะทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ ก็ยังคงเป็นหัวข้อทางประวัติศาสตร์ ที่แม้ในปัจจุบันยังคงเป็นเรื่องที่โต้แย้งกันอยู่<ref>Cecil Woodham-Smith, ''The Great Hunger'', Harmondsworth: Penguin, 1991, p. 19. ISBN 978-0-14-014515-1</ref><ref>Christine Kinealy, ''This Great Calamity'', Gill & Macmillan, 1994, pp. xvi–ii, 2–3. ISBN 0-7171-4011-3</ref>
 
ทุพภิกขภัยดังกล่าวสร้างความเปลี่ยนแปลงต่อ[[ประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์]]<ref>Kinealy, ''This Great Calamity'', p. xvii.</ref> มันเปลี่ยนลักษณะของประชากร การเมือง และวัฒนธรรมของไอร์แลนด์ไปอย่างถาวร สำหรับทั้งชาวไอร์แลนด์และ[[Irish diaspora|ชาวไอร์แลนด์พลัดถิ่น]]แล้ว ทุพภิกขภัยนี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของ[[Folk memory|ความทรงจำพื้นบ้าน]]<ref>The Famine that affected Ireland from 1845 to 1852 has become an integral part of folk legend. Kenealy, ''This Great Calamity'', p. 342.</ref> และกลายมาเป็นเหตุผลของการรณรงค์ของขบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ[[ลัทธิชาตินิยมไอร์แลนด์|ความเป็นชาตินิยมของไอร์แลนด์]] นักประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีความเห็นว่าเหตุการณ์นี้เป็นจุดสำคัญพอที่จะที่ใช้ในการแบ่งช่วงเวลาของประวัติศาสตร์ของไอร์แลนด์ออกเป็น “สมัยก่อนอดอยาก” และ “สมัยหลังอดอยาก”