ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บ้านบัวงาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 91:
| website = }}
{{maplink|frame=yes|frame-width=240|zoom=13|type=point}}
'''บ้านบัวงาม''' เป็นชุมชนหนึ่งใน[[ตำบลบัวงาม (อำเภอเดชอุดม)|ตำบลบัวงาม]] [[อำเภอเดชอุดม]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] ก่อตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2504 เดิมชื่อ ''บ้านโนนหมากเดือย'' แรกเริ่มเป็นหมู่บ้านฝากของชุมชนบ้านหนองสนม ซึ่งขณะนั้นอยู่ในพื้นที่ของ[[ตำบลกลาง]] [[อำเภอเดชอุดม]] ต่อมาได้มีการจัดตั้งหมู่บ้านอย่างเป็นทางการขึ้นเป็นชุมชนบ้านบัวงาม หมู่ที่ 10 ของตำบลกลาง ภายหลังได้แยกเป็นชุมชนหมู่ที่ 16 (หมู่ที่ 3 และ 14 ในปัจจุบัน) เพิ่มเติมในภายหลัง<ref name=buang>{{cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/D/181/3787.PDF|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอบุณฑริก อำเภอนาจะหลาย อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี|date=23 ตุลาคมAugust พ.ศ. 25221979|accessdate=5 มิถุนายนJune พ.ศ. 25632020|author=กระทรวงมหาดไทย|issue=96|volume=181|page=6|archivedate=1 สิงหาคม พ.ศ.August 25622019|archiveurl=https://web.archive.org/web/20190801041058/http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/D/181/3787.PDF}}</ref> ในปี พ.ศ. 2522 ชุมชนแถบนี้มีการเจริญเติบโตขึ้นเป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นผลมาจากการอพยพเข้ามาตั้งถื่นฐานของประชาชนจากตอนบนของจังหวัดอุบลราชธานี จึงได้มี[[ราชกิจจานุเบกษา]]แบ่งพื้นที่ทางตะวันออกจำนวน 9 หมู่บ้าน 10 ชุมชนของ[[ตำบลกลาง]]เพื่อจัดตั้งเป็น[[ตำบลบัวงาม (อำเภอเดชอุดม)|ตำบลบัวงาม]] โดยมีศูนย์กลางการบริหารอยู่ที่ชุมชนบ้านบัวงาม<ref name=buang/>
ปัจจุบันชุมชนบ้านบัวงามถือเป็นชุมชนที่ใหญ่ที่สุดในเขต[[ตำบลบัวงาม (อำเภอเดชอุดม)|ตำบลบัวงาม]] โดยแบ่งออกเป็น 5 ชุมชนย่อย ได้แก่ ชุมชนหมู่ที่ 1/1, 1/2, 3, 14 และ 15<ref name=post>{{cite web|url=http://www.noplink.com/postcode_t.php?t=%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%A1&a=%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%8A%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A1&p=%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B5&pc=34160&cm=|title=รหัสไปรษณีย์ ตำบลบัวงาม อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี|author=Noplink.com|date=25622019|accessdate=10 กุมภาพันธ์February พ.ศ. 25622019|language=th|archivedate=29 มีนาคม พ.ศ.March 25612019|archiveurl=https://web.archive.org/web/20180329224137/http://www.noplink.com/postcode_t.php?t=%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%A1&a=%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%8A%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A1&p=%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B5&pc=34160&cm=}}</ref><ref>{{cite web|url=https://news.ch7.com/detail/505323?fbclid=IwAR0VfOgxJHzsbvCnImKz8AHhRIo_S_qZkcIQXDI0vzVvBiX7V0aQ4wMMnzI|title=สั่งปิดวัดจันทร์ทุมาวาส หลังพบพระติดโควิด 19 ชาวบ้านอยู่ในกลุ่มเสี่ยงสัมผัส 64 คน|date=4 August 2021|accessdate=5 August 2021|work=Bangkok Broadcasting & T.V.|author=Ch7HD News|archivedate=4 August 2021|archiveurl=https://web.archive.org/web/20210804171940/https://news.ch7.com/detail/505323}}</ref> มีประชากรทั้งสิ้น 4,693 คน 1,082 ครัวเรือน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม นับถือ[[ศาสนาพุทธ]] และพูดภาษาท้องถิ่น ([[ภาษาอีสาน]])<ref name=buangam1>{{cite web|url=http://www.buangam-detudom.go.th/pdf/plan3.pdf|title=บทที่ 1 บทนา - องค์การบริหารส่วนตำบลบัวงาม|author=องค์การบริหารส่วนตำบลบัวงาม|work=|date=25592016|accessdate=22 สิงหาคม พ.ศ.August 25602017|}}</ref>
 
== ประวัติ ==
เดิมพื้นที่[[ตำบลบัวงาม (อำเภอเดชอุดม)|ตำบลบัวงาม]]ในปัจจุบันนั้น อยู่ภายใต้การบริหารขององค์การบริหารส่วนตำบลกลาง [[อำเภอเดชอุดม]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] โดยชุมชนแรกเริ่มที่ถูกก่อตั้งขึ้นในพื้นที่ดังกล่าวนั้นมีอยู่ 2 แห่ง คือ ชุมชนบ้านบัวทอง และชุมชนบ้านหนองสนม ต่อมาในช่วงปลายพุทธทศวรรษ 2490 เริ่มมีผู้คนจากต่างถิ่นอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่ดังกล่าวมากขึ้น โดยเฉพาะพื้นที่ดอนที่อยู่ทางทิศใต้ของบ้านหนองสนมประมาณ 4 กิโลเมตร ซึ่งมีชื่อเรียกในสมัยนั้นว่า '''โนนหมากเดือย''' ต่อมาในภายหลังได้การตั้งเป็น '''บ้านโนนหมากเดือย''' ขึ้นโดยเป็นหมู่บ้านฝากที่อยู่ภายในพื้นที่ของหมู่ที่ 2 บ้านหนองสนม ซึ่งขึ้นกับ[[ตำบลกลาง]]ในขณะนั้น ในปี พ.ศ. 2504 ชุมชนจึงได้รับการยกฐานะเป็นหมู่บ้านโดยถูกต้องตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องถิ่น และได้ตั้งชื่อหมู่บ้านใหม่ว่า '''บ้านบัวงาม''' เนื่องจากหมู่บ้านแห่งนี้ตั้งอยู่ระหว่างลำห้วยเล็ก ๆ 2 สาย คือห้วยบัวเหนือ และห้วยบัวใต้ ซึ่งไหลมาบรรจบกันก่อนที่จะไหลลงสู่ลำน้ำโดมใหญ่ ซึ่งมีลักษณะคล้ายดอกบัว จากนั้นชุมชนดังกล่าวได้มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ประชาชนจากชุมชนเดิมได้อพยพย้ายออกไปก่อตั้งชุมชนใหม่โดยรอบหลายชุมชน จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2522 ได้มีการแยกพื้นที่ทางตะวันออกของตำบลกลางออกมาเพื่อก่อตั้งเป็นตำบลบัวงาม<ref name=buang/>
 
ในระยะแรกนั้น การบริหารจัดการต่างๆภายในชุมชนบ้านบัวงามนั้นจะอยู่ภายใต้การควบคุมของสภาตำบลบัวงามทั้งหมด แต่เมื่อมีการยกระดับพื้นที่สุขาภิบาลบัวงามขึ้นเป็น[[เทศบาลตำบลบัวงาม (อำเภอเดชอุดม)|เทศบาลตำบลบัวงาม]] ตามประกาศ[[กระทรวงมหาดไทย]] เรื่องการจัดตั้งสุขาภิบาลเป็นเทศบาลตำบล เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2537 ประกาศ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 111 ตอนที่ 36 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2537 ทำให้การบริหารจัดการด้านต่างๆของชุมชนนี้อยู่ภายใต้การดูแลควบคุมของ[[เทศบาลตำบลบัวงาม (อำเภอเดชอุดม)|เทศบาลตำบลบัวงาม]]ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา<ref name=tesaban>{{cite web|url=http://nsm.go.th/law1/law1_12.pdf|title=พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542|date=25421999|accessdate=22 สิงหาคมAugust พ.ศ. 25602017|author=กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย|}}</ref>
 
== สภาพภูมิศาสตร์ ==
บรรทัด 109:
 
=== ลักษณะภูมิประเทศ ===
สภาพพื้นที่ของตำบลบัวงามส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงอุดมสมบูรณ์ มีป่าละเมาะ มีไม้พลวง [[เหียง|ไม้เหียง]] ขึ้นประปรายเป็นแห่งๆ โดยทั่วไป เหมาะสำหรับการทำนาและการเกษตรอื่นๆ ทำให้ในปัจจุบัน พื้นที่ส่วนมากถูกปรับสภาพให้เป็นพื้นที่ในการทำการเกษตรเกือบทั้งหมด มีแหล่งน้ำที่สำคัญทางการเกษตร คือ ห้วยบัวเหนือ ห้วยบัวใต้ และอ่างเก็บน้ำห้วยบัวเหนือ หรือหนองหลวง<ref name=buangam>{{cite web|url=http://www.buangam-detudom.go.th/pdf/plan3.pdf|title=บทที่ 1 บทนา - องค์การบริหารส่วนตำบลบัวงาม|author=องค์การบริหารส่วนตำบลบัวงาม|work=|date=25592016|accessdate=22 สิงหาคมAugust พ.ศ. 25602017|}}</ref><ref name=map1>{{cite web|url=http://www.buangam-detudom.go.th/image/map.jpg|title=แผนที่องค์การบริหารส่วนตำบลบัวงาม อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี|author=องค์การบริการส่วนตำบลบัวงาม|date=|accessdate=22 สิงหาคม พ.ศ.August 25602017}}</ref>
 
== สถานที่สำคัญ ==
บรรทัด 123:
[[ไฟล์:Local Mor Lum band of Bua Ngam Village in 1980.jpg|250px|thumb|[[หมอลำ]]คณะแดนดอกบัวรุ่งลำเพลิน หนึ่งในคณะหมอลำของบ้านบัวงามเมื่อปี พ.ศ. 2523]]
=== ศิลปะหัตถกรรม ===
* '''ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมและผ้าฝ้ายจากสีธรรมชาติ''' โดยกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรทอผ้าไหม-ฝ้าย บ้านบัวงาม หมู่ที่ 3 ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของชาวบ้านในชุมชนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 เพื่อสร้างรายได้เสริมจากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าไหมและผ้าฝ้ายจากสีธรรมชาติ<ref>{{cite web|url=http://www.banmuang.co.th/news/region/118323|title=ตามไปดูกลุ่มแม่บ้านทอผ้าไหม-ผ้าฝ้าย จากสีธรรมชาติ ที่ บ้านบัวงาม|date=16 กรกฎาคมJuly พ.ศ. 25612018|accessdate=9 กุมภาพันธ์February พ.ศ. 25612018|author=กิตติภณ เรืองแสน|work=บ้านเมือง|archivedate=9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.February 25612018|archiveurl=https://web.archive.org/web/20190209024118/http://www.banmuang.co.th/news/region/118323}}</ref>
 
=== งานประเพณี ===
งานประเพณีต่างๆที่จัดขึ้นภายในบ้านบัวงามนั้น จะเป็นไปตามขนบธรรมเนียมของ[[ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)|ชาติพันธ์ลาว]] ที่เรียกว่า [[ฮีตสิบสอง คลองสิบสี่|ฮีต 12]] ที่สำคัญ ได้แก่
====งานบุญเดือนสี่ บุญผะเหวด====
งานบุญเดือนสี่ หรืองานบุญผะเหวด เป็นงานบุญที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องราวของ[[มหาเวสสันดรชาดก|พระเวสสันดร]] มีการเทศน์พระเวส หรือเทศน์มหาชาติหรือ[[มหาเวสสันดรชาดก|เวสสันดรชาดก]] โดยจะถูกจัดขึ้นในช่วงเดือนสี่ตาม[[ปฏิทินจันทรคติ]] เชื่อกันว่า หากผู้ใดได้ฟังเทศน์เรื่องพระเวสสันดรทั้ง 13 กัณฑ์จบภายในวันเดียว จะได้เกิดร่วมชาติภพกับ[[พระศรีอริยเมตไตรย]]<ref>{{cite book|title=ประเพณีพื้นเมืองอีสาน|year=25221979|place=มหาสารคาม|publisher=วิทยาลัยครูมหาสารคาม}}</ref> ซึ่งเป็นพระพุทธเจ้าในชาติถัดไปตามคัมภีร์[[อนาคตวงศ์]]<ref>{{cite book|author = ประภาส สุระเสน|title = พระคัมภีร์อนาคตวงศ์ |URL = https://ia601606.us.archive.org/8/items/unset0000unse_e1q1/unset0000unse_e1q1.pdf | place = พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ| publisher = มหามกุฏราชวิทยาลัย |year = 25532010 | ISBN = 974-580-742-7 | page = 1-2}}</ref>
 
ทั่วไปแล้ว บุญผะเหวดนี้จะทำติดต่อกัน 3 วัน โดยในวันแรกจะเป็นการจัดเตรียมสถานที่ ตกแต่งศาลาการเปรียญ จากนั้นในวันที่ 2 จะเป็นวันเฉลิมฉลอง[[มหาเวสสันดรชาดก|พระเวสสันดร]] ชาวบ้านร่วมทั้งพระสงฆ์จากหมู่บ้านใกล้เคียงจะมาร่วมพิธี โดยจะมีการจัดขบวนแห่เครื่องไทยทานฟังเทศน์และแห่พระเวส โดยการแห่ผ้าผะเหวด (ผ้าผืนยาวเขียนภาพเล่าเรื่องพระเวสสันดร) ซึ่งสมมติเป็น ''การแห่พระเวสสันดรเข้าเมือง'' เมื่อถึงเวลาค่ำจะมีเทศน์เรื่องพระมาลัย และในวันที่ 3 จะเป็นงานบุญพิธี โดยในช่วงเช้า ชาวบ้านจะร่วมกันตักบาตรข้าวพันก้อน และในระหว่างวันจนถึงตอนเย็น มีจะแห่แหนฟ้อนรำเพื่อนำ ''กัณฑ์หลอน'' ที่รวบรวมจากชาวบ้านคุ้มต่างๆใน ชุมชน หรือจากหมู่บ้านอื่นๆ ขึ้นบนศาลาเพื่อถวายแด่ภิกษุรูปที่กำลังเทศน์อยู่ ณ เวลานั้น