ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัลกุรอาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2403:6200:8881:7AF1:D062:4CA:81F:CC1F (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Waniosa Amedestir
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Ben Bilal (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 32:
 
อันลักษณะของคัมภีร์อัลกรุอานนั้นอยู่กึ่งกลางระหว่างร้อยแก้วและร้อยกรอง คัมภีร์อัลกรุอานจึงเป็นสิ่งท้าทายที่พิสดารสำหรับชาวอาหรับ เพราะเป็นร้อยแก้วมีความไพเราะได้โดยไม่ต้องใช้มาตราสัมผัสและบทวรรคตามกฎของกวีนิพนธ์ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ชาวอาหรับฉงนใจว่า คนที่ไม่เคยแต่งโคลงกลอนและอ่านเขียนไม่ได้อย่างมุฮัมมัด จะต้องไม่ใช่ผู้แต่งอัลกุรอานเป็นแน่
 
จากข้อความและการวิจัยทางโบราณคดี Patricia Crone, Michael Cook ฯลฯ ตั้งสมมติฐานว่า "Masjid al-Haram" ไม่ได้ตั้งอยู่ในเมกกะ แต่อยู่ในคาบสมุทรอาหรับทางตะวันตกเฉียงเหนือ<ref name="Wang">{{cite web |last1=Wang |first1=Shutao |title=Religious Roots of Europe Master's Thesis: The Origins of Islam in the Arabian Context |url=https://bora.uib.no/bora-xmlui/bitstream/handle/1956/12367/144806851.pdf?sequence=4&isAllowed=y |accessdate=8 January 2019 |date=Spring 2016}}</ref><ref>Meccan Trade And The Rise Of Islam, (Princeton, U.S.A: Princeton University Press, 1987</ref><ref name="Sacred Orientation">{{cite web |last1=Gordon |first1=Ari Michael |title=Sacred Orientation: The Qibla As Ritual, Metaphor, And Identity Marker In Early Islam |url=https://repository.upenn.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=5006&context=edissertations |website=University of Pennsylvania, ScholarlyCommons |accessdate=8 January 2019 |date=2018}}</ref>
 
== เนื้อหาสาระของอัลกุรอาน ==