ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องจักรไอน้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pine-ladpli (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขความผิดพลาดการพิมพ์
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Pine-ladpli (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย BotKung
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:Uniflow steam engine.gif|thumb|เครื่องจักรไอน้ำของวัตต์]]
'''เครื่องจักรไอน้ำ''' ({{lang-en|Steam engine}}) ประดิษฐ์โดย [[โทมัส นิวโคเมน]] ([[:en:Thomas Newcomen|Thomas Newcomen]]) เมื่อ [[พ.ศ. 2248]] (ค.ศ. 1705) ต่อมา [[เจมส์ วัตต์]] ได้พัฒนาเครื่องจักรไอน้ำขึ้น ซึ่งหลังจากนั้น ได้มีการนำเอาชื่อท่านมาตั้งเป็นหน่วยของกำลังไฟฟ้า[[วัตต์]]
 
บรรทัด 7:
'''เครื่องจักรไอน้ำ''' เป็นเครื่องจักรประเภท [[เครื่องยนต์สันดาปภายนอก|สันดาปภายนอก]] สามารถนำมาเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ โดยการนำไอน้ำมาหมุนกังหันของ [[เครื่องปั่นไฟ|เครื่องกำเนิดไฟฟ้า]] (ไดนาโม) เครื่องจักรไอน้ำต้องมีหม้อต้มในการต้มน้ำในการทำให้เกิดไอน้ำ ไอน้ำที่ได้จากการต้ม จะนำไปเป็นแรงในการดันกระบอกสูบหรือกังหัน
 
ข้อดีของเครื่องจักรไอน้ำประการหนึ่งคือการที่สามารถใช้แหล่งความร้อนจากอะไรก็ได้ เช่น [[นิวเคลียร์]] [[พลังงานแสงอาทิตย์]] [[เอทานอล]] [[ไบโอดีเซล]] และอื่นๆได้ อีกมาก
 
[[ไบโอดีเซล|นำมันจากพืช]] และอื่นได้ อีกมาก
และแม้แต่ในปัจจุบัน เครื่องจักรไอน้ำหรือกลไกที่ถูกพัฒนาขึ้นจากเครื่องจักรไอน้ำยังคงปรากฏซ่อนอยู่ในเครื่องจักรเครื่องกลแทบทุกประเภท เช่น โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน [[กระบอกสูบ]]ในรถยนต์ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังงานไอนได้
 
และแม้แต่ในปัจจุบัน เครื่องจักรไอน้ำหรือกลไกที่ถูกพัฒนาขึ้นจากเครื่องจักรไอน้ำยังคงปรากฏซ่อนอยู่ในเครื่องจักรเครื่องกลแทบทุกประเภท เช่น โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน [[กระบอกสูบ]]ในรถยนต์ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังงานไอนได้นำ
 
== การประดิษฐ์ริเริ่มและพัฒนา ==
===เครื่องจักรไอน้ำ Aeolipile===
[[ไฟล์:Aeolipile_illustration.png|thumb|Aeolipile]]
เครื่นองจักรเครื่องจักรไอน้ำเครื่องแรกที่มีการบันทึกไว้คือ [[:en:Aeolipile|Arolipile]] คนที่ประดิษฐ์คือวิศวกรและนักฟิสิกส์ชาวกรีก ในช่วงศตวรรษที่ 1 แต่ครั้งนั้นนำมาใช้เป็นของเล่น
ต่อมาเมื่อ [[พ.ศ. 2206]] (ค.ศ. 1663) นายเอ็ดเวิร์ด โซเมอร์เซ็ด ได้ออกแบบและนำไปใช้เป็นประโยชน์ในการปั้มน้ำ
 
===เครื่องจักรไอน้ำแบบกระบอกสูบ===
[[ไฟล์:Papinengine.jpg|thumb|left|เครื่องจักรไอน้ำแบบลูกสูบ,โดยนาย Denis Papin ]]
เมื่อ [[พ.ศ. 2223]] (ค.ศ. 1680) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส เดนนิส ปาปิน ([[:en:Denis Papin| Denis Papin]]) สร้างหม้อต้มความดันจุดประสงค์เพื่อใช้ในการทำอาหาร ซึ่งถือเป็นหม้อความดันรุ่นแรก เพื่อเป็นการป้องกันการระเบิดของหม้อต้มความดัน เดนนิส ปาปิน ได้ออกแบบ [[วาล์วลดความดัน]] (Release Valve) นอกจากนี้ยังสังเกตว่าคาบการทำงานของวาวล์ เป็นจังหวะขึ้นลงๆ ทำ ให้เกิดความคิดเกี่ยวกับเครื่องจักรแบบกระบอกสูบ แต่เขาก็ไม่ได้สร้างเครื่องจักรไอน้ำที่ใช้งานได้จริง ต่อมาวิศวกร [[:en:Thomas Savery|Thomas Savery]] (โทมัส ซาวารี่) ได้ใช้การออกแบบของปาปิน มาทำเป็นเครื่องจักรไอน้ำที่ใช้งานได้
 
ในอุตสาหกรรมเครื่องจักรไอน้ำช่วงแรกเป็นการออกแบบของ [[โทมัส เซฟเวอรี]] ([[:en:Thomas Savery|Thomas Savery]])
===เครื่องจักรไอนำ้ในอุตสาหกรรม===
เครื่องจักรไอน้ำช่วงแรกเป็นการออกแบบของ [[โทมัส เซฟเวอรี]] ([[:en:Thomas Savery|Thomas Savery]])
 
===เครื่องจักรไอนำ้ของนิวโคเมน===
เมื่อ [[พ.ศ. 2255]] (ค.ศ. 1712) เครื่องจักรไอน้ำแบบบรรยากาศ ([[:en:atmospheric-engine|atmospheric-engine]]) ของ โทมัส นิวโคเมน ([[:en:Thomas Newcomen|Thomas Newcomen]]) ได้ทดลองและใช้ในอุตสาหกรรม
 
ต่อมา เซฟเวอรีและนิวโคเมนร่วมกันพัฒนา [[เครื่องจักรไอน้ำแบบคาน]] ([[:en:beam engine|beam engine]]) ที่สามารถใช้แบบความดันบรรยากาศและความดันสุญญากาศ ช่วงแรกของอุตสาหกรรมใช้เครื่องจักรไอน้ำแบบสุญญากาศในการปั๊มน้ำจากเหมือง เครื่องจักรไอน้ำของนิวโคเมน รุ่นแรกทำงานช้าและต้องใช้คนเปิด-ปิดวาล์วเอง =
===เครื่องจักรไอน้ำแบบคาน===
ต่อมา เซฟเวอรีและนิวโคเมนร่วมกันพัฒนา [[เครื่องจักรไอน้ำแบบคาน]] ([[:en:beam engine|beam engine]]) ที่สามารถใช้แบบความดันบรรยากาศและความดันสุญญากาศ ช่วงแรกของอุตสาหกรรมใช้เครื่องจักรไอน้ำแบบสุญญากาศในการปั๊มน้ำจากเหมือง เครื่องจักรไอน้ำของนิวโคเมน รุ่นแรกทำงานช้าและต้องใช้คนเปิด-ปิดวาล์วเอง =
ต่อมาจึงเปลี่ยนมาใช้ตัวเครื่องจักรเองในการเปิด-ปิดวาล์ว
 
===เครื่องจักรไอน้ำแบบวัตต์===
ต่อมา [[เจมส์ วัตต์]] ([[:en:James Watt|James Watt]]) ได้พัฒนาเครื่องจักรไอน้ำจากแบบของนิวโคเมน และ ได้จดสิทธิบัตร [[เครื่องจักรไอน้ำแบบวัตต์]] [[:en:Watt Steam engine|Watt Steam Engine]] ซึ่งทำงานเรียบกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่า
การพัฒนาในเรื่องของประสิทธิภาพช่วงต่อมาจากการประดิษฐ์ของ [[:en:Oliver Evans|Oliver Evans]] และ [[:en:Richard Trevithick|Rechard Trevithick]=] โดยการใช้ไอน้ำแรงดันสูง ซึ่งเครื่องจักรไอน้ำที่ใช้แรงดันสูงที่ Trevithick สร้างไว้เป็นที่รู้จักในชื่อ [[เครื่องจักรไอน้ำแบบคอร์นิช]] ([[:en:Cornish engines|Cornish engines]])
 
การพัฒนาในเรื่องของประสิทธิภาพช่วงต่อมาจากการประดิษฐ์ของ [[:en:Oliver Evans|Oliver Evans]] และ [[:en:Richard Trevithick|Rechard Trevithick]=] โดยการใช้ไอน้ำแรงดันสูง ซึ่งเครื่องจักรไอน้ำที่ใช้แรงดันสูงที่ Trevithick สร้างไว้เป็นที่รู้จักในชื่อ [[เครื่องจักรไอน้ำแบบคอร์นิช]] ([[:en:Cornish engines|Cornish engines]])
===อันตรายของเครื่องจักรไอน้ำ===
 
อย่างไรก็ตามเครื่องจักรไอน้ำแรงดันสูงมีอันตรายมาก จากหม้อต้มระเบิดเพราะไม่สามารถทนความดันสูงได้ และเป็นสาเหตุของอุบัติเหตุหลายๆเหตุการณ์ สิ่งสำคัญของเครื่องจักรไอน้ำแบบความดันสูงคือ ความพิถีพิถันในการผลิต [[วาล์วนิรภัย]] ซึ่งใช้ในการปล่อยความดันที่เกินของเครื่องจักรไอน้ำ และเหตุนี้เองจึงต้องมีการบำรุงรักษาเครื่องจักรไอน้ำที่เข้มงวด และกำหนดมาตรฐานการผลิตวาล์วนิรภัย
<br clear="all"/>
 
== ประเภทของเครื่องจักรไอน้ำ ==
=== เครื่องจักรไอน้ำแบบสูบขึ้นลงของวัตต์ (Reciprocating Engines) ===
ความแตกต่างของการทำงานของเครื่องจักรไอน้ำแบบสุญญากาศและแบบความดันสูง ไอน้ำความดันสูงมีสีแดง, ความดันต่ำสีเหลื่อง และ ไอน้ำควบแน่นสีน้ำเงิน ด่านบนของเครื่องความดันแบบสุญญากาศต้องเปิดสู่บรรยากาศเพื่อให้ความดันบรรยากาศกระทำด้านบนกระบอกสูบ เครื่องจักรแบบ Reciprocating ใช้การทำงานของไอน้ำในการเคลื่อนที่สูกสูบในกระบอกสูบที่ปิดสนิท
 
=== เครื่องจักรไอน้ำแบบความดันสุญญากาศของนิวโคเมน (Vacuum engines) ===
จังหวะการทำงานของเครื่องจักรไอน้ำแบบสุญญากาศคือ การให้ไอน้ำความดันต่ำเข้าไปในกระบอกสูบและทำการปิดวาล์วทางเข้าลูกสูบเคลื่อนที่ไปอยู่บริเวณด้านบน หลังจากนั้นไอน้ำจะความแน่นกลายเป็นหยดน้ำ ซึ่งทำให้ปริมาตรของไอน้ำลดลงทำให้เกิดเป็นสุญญากาศ