ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Law 555 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Law 555 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
| tree = [[ทองกวาว|จาน]]
| ที่ตั้ง = '''ส่วนกลาง'''<br>เลขที่ 64 ถนนทหาร ตำบลหมากแข้ง [[อำเภอเมืองอุดรธานี]] [[จังหวัดอุดรธานี]] 41000<br>
'''[[มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี สามพร้าว|ส่วนขยาย]]'''<br>เลขที่ 234 หมู่ที่ 1 ถนนบ้านเหล่า - ดอนกลอย ตำบลสามพร้าว [[อำเภอเมืองอุดรธานี]] [[จังหวัดอุดรธานี]]<br>
'''[[มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ศูนย์การศึกษาบึงกาฬ|ศุนย์ฯ บึงกาฬ]]'''<br>เลขที่ 285 หมู่ 2 ตำบลโนนสมบูรณ์ [[อำเภอเมืองบึงกาฬ]] [[จังหวัดบึงกาฬ]]
| เว็บไซต์ = [http://www.udru.ac.th/ www.udru.ac.th]
บรรทัด 134:
=== ศูนย์การศึกษา ===
* [[ศูนย์การศึกษาบึงกาฬ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี|ศูนย์การศึกษาบึงกาฬ]]
เป็น[[วิทยาเขต]]แห่งเดียวของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ซึ่งมีที่ตั้งนอกเขตจังหวัดตั้งอยู่พื้นที่ [[จังหวัดบึงกาฬ]]
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี สามพร้าว|ศูนย์การศึกษาสามพร้าว]] (พื้นที่ขยาย)
เป็น โครงการพื้นที่มหาวิทยาลัยแห่งใหม่ หรือ มอใหม่ ตั้งอยู่ ตำบลสามพร้าว อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ห่างจากที่ตั้งมอใน ตำบลหมากแข้ง 19 กิโลเมตร<ref>http://www.udru.ac.th/index.php/aroundudru/502-nov-08-2016-b.html</ref>
 
'''คณะ/หน่วยงานที่ดำเนินงาน ณ ศูนย์การศึกษาสามพร้าว (พื้นที่ขยาย) '''
 
(1) คณะเทคโนโลยี ชั้นปีที่ 1-4
 
(2) คณะวิทยาศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-4
 
== การวิจัย ==
เส้น 175 ⟶ 167:
หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (สามพร้าว) เป็นโครงการก่อสร้างหอประชุมนานาชาติและใช้เป็นสถานที่สำหรับจัดงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษาจาก'''มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี'''-มหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ในอนาคต) และเพื่อให้ประชาชนพร้อมด้วยชุมชนใช้ประโยชน์ในการจัดสัมนาฯ หรือประชุม รวมถึงการจัดแสดงสินค้าต่างๆ
 
การออกแบบได้รับแรงบันดาลใจจาก[[ทองกวาว|ดอกทองกวาว]] ซึ่งเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดอุดรธานีและประจำมหาวิทยาลัยฯ เนื่องจากตัวอาคารมีความลาดโค้งหลายระดับ และปัจจุบันก่อสร้างแล้วเสร็จแล้วเมื่อปลายี พ.ศ. 2559 ''(อยู่ระหว่างตกแต่งพื้นที่บริวณด้านในและด้านนอกของสถานที่)''
 
*'''อาคารเรียนรวมฝ่ายบริหาร'''
อาคารเรียนรวมฝ่ายบริหาร ก่อสร้างแล้วเสร็จแล้วเมื่อปลายปี พ.ศ. 2559 เป็นโครงการก่อสร้างอาคารเรียนรวมและตึกบริหารของมหาวิทยาลัย ที่จะย้ายออกไปทำการในพื้นที่ใหม่สามพร้าวในอนาคต เป็นอาคารที่มีเอกลักษณ์ของจังหวัดอุดรธานี โดยมีแรงบบันดาลใจมาจาก[[แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง|ไหบ้านเชียง แหล่งมรดกโลก]]ของชาวจังหวัดอุดรธานี ปัจจุบันก่อสร้างแล้วเสร็จแล้วเมื่อปลายปี พ.ศ. 2559 (อยู่ระหว่างตกแต่งพื้นที่บริวณด้านในและด้านนอกของสถานที่)
* '''อาคารกลุ่มเทคโนโลยี'''
 
อาคารกลุ่มเทคโนโลยี หรือเรียกอีกอย่างว่า "อาคาร TB" อาคารกลุ่มเทคโนโลยี TB เหล่านี้เป็นอาคารที่ก่อสร้างขึ้นช่วงแรกๆ ในโครงการขยายพื้นที่มหาวิทยาลัยออกไปสู่ตำบลสามพร้าว โดยสร้างแล้วเสร็จประมาณราวปี พ.ศ. 2551 และรับนักศึกษาเข้าศึกษาในพื้นที่อาคารเมื่อปีการศึกษา 2553 และนิยมเรียกนักศึกษารุ่นนี้ว่า "ดอกเห็ดช่องที่ 1" ต่อมาเหล่านักศึกษารุ่นหลังก็ถูกนับเรียงชื่อดอกเห็ดเป็นรุ่นๆ ตามกันมา ปัจจุบันอาคารกลุ่มเทคโนโลยี TB มีทั้งหมด 6 อาคาร โดยกลุ่มตัวอาคารเป็นสีขาว คือ
 
(1) อาคาร TB1 เป็นอาคารตึก 2 ชั้นอยู่ทางบริเวณด้านหลังอาคาร TB2 โดยมีทางเชื่อมไปมาถึงกันได้บริเวณทางด้านหลังของอาคาร TB2 ชั้น 2 ปัจจุบันอาคาร TB1 ใช้เป็นอาคารเรียนรวมของนักศึกษาพื้นที่ใหม่ เนื่องจากอาคารเรียนรวม (อยู่ระหว่างก่อสร้างคาดว่าเสร็จและเปิดให้ปัจจุบันใช้ในปีเป็นสถานทำการศึกษาเรียนการสอนของชั้นปีที่ 1-4 2561)คณะเทคโนโลยี
 
(2) อาคาร TB2 เป็นอาคารตึก 4 ชั้นอยู่ทางทิศใต้ของถนนภายในมหาวิทยาลัยโดยมุ่งหน้าไปหอพักนักศึกษาชาย-หญิง ปัจจุบัน อาคาร TB2ใช้เป็นอาคารเรียนรวมของนักศึกษาพื้นที่ใหม่ เนื่องจากอาคารเรียนรวม (อยู่ระหว่างก่อสร้างคาดว่าเสร็จและเปิดให้ปัจจุบันใช้ในปีเป็นสถานทำการศึกษาเรียนการสอนของชั้นปีที่ 1-4 2561)คณะเทคโนโลยี
 
(3) อาคาร TB3 เป็นาอคารขนาดใหญ่เป็นอาคารขนาดใหญ่ 4 ชั้นกว้างขวาง อยู่ตรงข้ามอาคาร TB2 ทางทิศเหนือของถนนภายในมหาวิทยาลัยโดยมุ่งหน้าไปหอพักนักศึกษาชาย-หญิง ปัจจุบันชั้นล่าง เป็นศูนย์อาหารและเคยเป็นอดีตศูนย์บริหารงานของมหาวิทยาลัย อาทิเช่น งานคลัง งานทะเบียน งานบริหารมหาวิทยาลัย(ส่วยย่อย) เมื่อแรกเริ่มก่อตั้งขยายพื้นที่โดยเพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในพื้นที่ใหม่สามพร้าว โดยไม่ต้องเดินทางมาติดต่อที่พื้นที่เก่าในเมือง และส่วนด้านในยังเป็น "สำนักงานคณบดี" ของคณะเทคโนโลยีด้วย ส่วนชั้น 2 - 4 เป็นส่วนห้องเรียนขนาดใหญ่ และภายในชั้น 4 ยังแบ่งส่วนเป็นหอประชุมขนาด 300 ที่นั่ง
 
(4) อาคาร TB4 เป็นอาคารตึก 4 ชั้น อยู่ทิศเหนือด้านหลังอาคาร TB3 โดยมีทางเชื่อมไปมาถึงกันได้บริเวณทางด้านหลังของอาคาร TB3 ทุกชั้น ปัจจุบันใช้เป็นอาคารสำหรับเรียนรวมในวิชาพื้นฐานและวิชาทั่วไปของคณะเทคโนโลยี
 
(5) อาคาร TB5 เป็นอาคารตึก 2 ชั้น อยู่ทิศเหนือด้านหลังอาคาร TB3 ถัดจากอาคาร TB4ปัจจุบันใช้เป็นอาคารเรียนและสถานที่ฝึกปฏิบัติของนักศึกษาคณะเทคโนโลยีทุกสาขาวิชา
เส้น 198 ⟶ 190:
อาคารกลุ่มวิทยาศาตร์ หรือเรียกอีกอย่างว่า "อาคาร ScB" อาคารกลุ่มวิทยาศาสตร์ ScB เหล่านี้เป็นอาคารที่ก่อสร้างขึ้นช่วงที่สองของโครงการขยายพื้นที่มหาวิทยาลัยออกไปสู่ตำบลสามพร้าว โดยเริ่มโครงการสร้างเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2552 โดยสร้างอาคาร ScB1 ขนาดใหญ่ของกลุ่มขึ้นก่อนแล้วสร้างอาคารอื่นๆ ตามลำดับถัดมา ปัจจุบันอาคารอาคารกลุ่มวิทยาศาสตร์ ScB พวกนี้ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดยมีอาคารทั้งหมด 4 อาคารโดยกลุ่มตัวอาคารเป็นสีฟ้า-ขาว คือ
 
(1) อาคาร ScB1 เป็นอาคารขนาดใหญ่ 6 ชั้นกว้างขวางมีพื้นทีมาก ติดถนนภายในทางด้านทิศตะวันออก นับถัดจากอาคาร ScB2 ถัดไป เป็นโครงการย้ายคณะวิทยาศาสตร์จากพื้นที่เก่าในเมืองที่คับแคบออกไปดำเนินการเรียนการสอน โดยในอนาคตจะเป็นที่ตั้งสำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และเปิดสอนทางสายวิทยาศาสร์สุขภาพมากขึ้นในลำดับถัดไป โดยปัจจุบันเใช้เป็นอาคารเรียนรวมของนักศึกษาพื้นที่ใหม่ เนื่องจากอาคารเรียนรวม (อยู่ระหว่างก่อสร้างคาดว่าเสร็จและเปิดให้ใช้ในปีที่ทำการศึกษา 2561)"สำนักงานคณบดี" คณะวิทยาศาสตร์
 
(2) อาคาร ScB2 เป็นอาคารตึก 6 ชั้นตรงสูง ติดถนนภายในทางด้านทิศตะวันออก จะเจอตัวอาคารนี้ก่อนตัวอาคารอื่นๆ ในกลุ่มทั้งหม โดยภายในมีห้องเรียนและอุปกรณ์ทางการวิจัย ทดลองและแหล่งเรียนรู้สำหรับด้านวิทยาศาสตร์ครบครัน ปัจจุบันใช้เป็นสถานทำการเรียนการสอนของชั้นปีที่ 1-4 คณะวิทยาศาสตร์
 
(3) อาคาร ScB3 เป็นอาคารตึก 5 ชั้น ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังของตัวอาคาร ScB2 ถัดไปโดยมีทางเชื่อมระหว่างกันทุกๆชั้น และภายในมีห้องเรียนและอุปกรณ์ทางการวิจัย ทดลองและแหล่งเรียนรู้สำหรับด้านวิทยาศาสตร์ครบครัน ปัจจุบันใช้เป็นสถานทำการเรียนการสอนของชั้นปีที่ 1-4 คณะวิทยาศาสตร์
 
(4) อาคาร ScB4 เป็นอาคารตึก 5 ชั้น อาคารนี้ตั้งอยู่บริเวณด้านในสุดของกลุ่มอาคาร ซึ่งอยู่ด้านหลังของตัวอาคาร ScB3 ถัดไป ส่วนด้านหลังของอาคารนี้จะมองเห็นกลุ่มอาคารเทคโนโลยี TB ด้วย โดยอยู่ห่างกันไม่มากนัก ส่วนด้านภายในอาคารมีห้องเรียนและอุปกรณ์ทางการวิจัย ทดลองและแหล่งเรียนรู้สำหรับด้านวิทยาศาสตร์ครบครัน ปัจจุบันใช้เป็นสถานทำการเรียนการสอนของชั้นปีและที่ทำการ 1"สำนักงานคณบดี" คณะวิทยาศาสตร์พยาบาลศาสตร์
 
* '''อาคารกลุ่มวิศวกรรมศาสตร์'''
อาคารวิศวกรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติฯ ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2562 เป็นอาคารสีน้ำตาลเข้มพร้อมลวดลายผ้าหมี่ขิด ซึ่งเป็นลายผ้าประจำจังหวัดอุดรธานี ปัจจุบันใช้เป็นสถานทำการเรียนการสอนกลุ่มวิชาวิศวกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยี
* '''อาคารกลุ่มนิติศาสตร์'''
* '''อาคารกลุ่มพยาบาลศาสตร์'''
* '''อาคารกลุ่มปฏิบัติการทางเกษตร'''