ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armin Arlertz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BunBn (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 314:
* [[พ.ศ. 2560]] คณะแพทยศาสตร์ สามารถรักษาโรค[[โรคหืด|หอบหืด]]เรื้อรังขั้นรุนแรงโดยการส่องกล้องจี้หลอดลมด้วยความร้อน (Bronchial thermoplasty) ได้สำเร็จเป็นแห่งแรกใน[[ประเทศไทย]]<ref>สภากาชาดไทย. "รพ.จุฬาลงกรณ์ โชว์!!นวัตกรรมส่องกล้อง รักษาผู้ป่วยโรคหืดขั้นรุนแรง แห่งเดียวในไทย | Welcome to The Thai Red Cross Society." รพ.จุฬาลงกรณ์ โชว์!!นวัตกรรมส่องกล้อง รักษาผู้ป่วยโรคหืดขั้นรุนแรง แห่งเดียวในไทย | Welcome to The Thai Red Cross Society. Accessed March 05, 2017. http://www.redcross.or.th/news/information/58869</ref>
* พ.ศ. 2563 ห้องปฏิบัติการของศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยทำการถอดรหัส[[โคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (SARS-CoV-2)]] และยืนยันว่าตรงกับไวรัสที่กำลังระบาดในประเทศจีนได้เป็นที่แรกของประเทศไทย ทำให้ประเทศไทยเริ่มรับมือกับการระบาดของเชื้อไวรัสชนิดนี้อย่างจริงจังในเวลาต่อมา<ref>เนชั่นสุดสัปดาห์. 2563. เผย”นักเทคนิคการแพทย์”จุฬาฯ ผู้ถอดรหัสไวรัสโคโรนารายแรกของไทย. 27 มกราคม. 12 เมษายน 2563 ที่เข้าถึง. https://www.nationweekend.com/content/hotclip/5671.</ref>
*พ.ศ. 2563 ศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันแรกในประเทศไทยที่เริ่มพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประเภท[[เอ็มอาร์เอ็นเอ]] โดยร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา วัคซีนดังกล่าวมีชื่อว่า “ChulaCov19”<ref>คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ''บริจาคกองทุนการวิจัยและพัฒนาวัคซีน.'' 1 ตุลาคม 2563. <nowiki>http://give.md.chula.ac.th/donate-en/บริจาคกองทุนการวิจัยแล-2/</nowiki> (เข้าถึง 20 มิถุนายน 2564).
 
</ref>
 
== ศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก ==