ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
รอยใบลาน (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมข้อมูลการพระราชทานพระนาม
รอยใบลาน (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมพระประวัติเมื่อทรงพระเยาว์
บรรทัด 12:
}}
[[ไฟล์:พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน.jpg|thumb|พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน เมื่อวัยชรา]]
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน''' (15 ตุลาคม พ.ศ. 2406 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นพระเจ้าลูกเธอพระองค์ที่ 65 พระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และเป็นที่ 1 ในซึ่งประสูติแต่[[เจ้าจอมมารดาห่วง ในรัชกาลที่ 4|เจ้าจอมมารดาห่วง]] ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีทรงมีพระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดาเดียวกัน เดือน2 11พระองค์ ขึ้นคือ 3 [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ค่ำกรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย]] ปีกุน(ต้นราชสกุล เบญจศก"ไชยันต์") จ.ศ.และ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ 1125 ตรงกับวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.พระองค์เจ้าเจริญกมลสุขสวัสดิ์]] 2406 โดยทรงเป็นพระอภิบาลในการสมโภชเดือน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เมื่อวันที่เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก 13กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราไชย]] พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 ได้และทรงเป็นเจ้านายที่มีพระราชหัตถเลขาชันษายืนพระองค์หนึ่งในพระราชทานพระนามว่า "พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้า บุษบัณบัวผัน"ราชวงศ์จักรี
 
== พระประวัติ ==
''"สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้ากรุงสยาม ขอตั้งนามแก่บุตรีหญิงซึ่งเกิดแต่ห่วงเป็นมารดา ในวันพฤหัสบดี เดือน 11 ขึ้น 3 ค่ำ ปีกุน เบญจศก ปีที่ 33 ในรัชชกาลนี้ว่า พระเจ้าลูกเธอ บุษบัณบัวผัน วรรคบริวารเปนอาทิและอันตอักษร ขอพรคุรพระศรีรัตนตรัย และอำนาจเทวดาจงประสิทธิ์ เจริญชนมายุ พรรณ สุข พล ปฏิภาณ สารสมบัติ ศรีสวัสดิพิพัฒนมงคลศุภพิบุลยผลทุกประการ เทอญ''
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน''' เป็นพระเจ้าลูกเธอพระองค์ที่ 65 ใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และเป็นที่ 1 ใน[[เจ้าจอมมารดาห่วง ในรัชกาลที่ 4|เจ้าจอมมารดาห่วง]] ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 11 ขึ้น 3 ค่ำ ปีกุน เบญจศก จ.ศ. 1125 ตรงกับวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2406 โดยได้มีพระราชหัตถเลขาพระราชทานพระนามในการสมโภชเดือน เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406 ว่า "พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้า บุษบัณบัวผัน" (สะกดด้วยคำว่า "บุษบัณ")
 
''"สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้ากรุงสยาม ขอตั้งนามแก่บุตรีหญิงซึ่งเกิดแต่ห่วงเป็นมารดา ในวันพฤหัสบดี เดือน 11 ขึ้น 3 ค่ำ ปีกุน เบญจศก ปีที่ 33 ในรัชชกาลนี้ว่า พระเจ้าลูกเธอ บุษบัณบัวผัน วรรคบริวารเปนอาทิและอันตอักษร ขอพรคุรพระศรีรัตนตรัย และอำนาจเทวดาจงประสิทธิ์ เจริญชนมายุ พรรณ สุข พล ปฏิภาณ สารสมบัติ ศรีสวัสดิพิพัฒนมงคลศุภพิบุลยผลทุกประการ เทอญ''
 
''ตั้งนามมา ณ วันศุกร์ เดือน 12 ขึ้น 3 ค่ำ ปีกุน เบญจศก เป็นวันที่ 4566 ในรัชชกาลปัจจุบันนี้แล"''
 
โดยพร้อมกับได้มีพระราชหัตถเลขาพระราชทานพระนามเป็นภาษามคธไว้ว่า ''"ปุสฺปณฺณา"'' และพระราชทานพระพรซึ่งแปลเป็นคาถาภาษามคธ (เขียนด้วยตัวอักษรอริยกะ) กำกับพระราชหัตถเลขาฉบับภาษาไทยไว้ ซึ่งแปลความได้ว่า
 
''"ธิดาของเราที่เรารักใคร่ เกิดโดยความสุขแต่มารดาชื่อห่วงนี้ จงมีชื่อว่าบุษบัณ (ปุสฺปณฺณา) และจงมีความสุขไม่มีโรค มั่งคั่งมีทรัพย์ใหญ่ ข้าศึกทั้งหลาย ไม่พึงครอบงำได้ และดำรงอยู่ในยศที่ตั้งแล้ว พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ประชุมสามรัตน ที่ราชธิดานั้นนับถือชอบแล้ว จงรักษาราชธิดานั้นทุกเมื่อ เทอญ"''
 
=== ความหมายของพระนาม "บุษบันบัวผัน" ===
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ได้มีลายพระหัตถ์ ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2482 ประทานพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) มีความตอนหนึ่งว่า ''"'''พระนาม บุษบันบัวผัน นั้นได้ความชัดว่าเปนดอกบัวแท้''' ไม่ใช่ซ้ำคำ เปน ดอกบัวสาย แต่ บัวผัน กับ บัวเผื่อน ผิดกันอย่างไร ท่านมีความรู้พอจะบอกได้หรือไม่"'' <ref>{{Cite web|last=laika|date=2020-05-07|title=๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ น|url=https://vajirayana.org/%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87-%E0%B9%86-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%A1-%E0%B9%93/%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1-%E0%B8%9E%E0%B8%A8-%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%92/%E0%B9%91%E0%B9%92-%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1-%E0%B8%9E%E0%B8%A8-%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%92-%E0%B8%99|website=vajirayana.org}}</ref> และพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) ได้มีจดหมายกราบทูล ลงวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2482 ว่า ''"ส่วน บัวผัน กับ บัวเผื่อน ตามที่ข้าพระพุทธเจ้าได้รับคำบอกเล่ามาว่า บัวเผื่อน ดอกแดง '''บัวผัน ดอกเขียวสีฟ้า มีกลิ่นหอมทั้งสองอย่าง ลำต้นและดอกทั้งสองชนิดเหมือนกับบัวสาย (เรียกอีกชื่อว่า บัวขม เพราะเหง้ามีรสขม) แต่เล็กกว่ามาก'''..."'' <ref>{{Cite web|last=laika|date=2020-05-07|title=๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ยส|url=https://vajirayana.org/%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87-%E0%B9%86-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%A1-%E0%B9%93/%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1-%E0%B8%9E%E0%B8%A8-%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%92/%E0%B9%91%E0%B9%96-%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1-%E0%B8%9E%E0%B8%A8-%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%92-%E0%B8%A2%E0%B8%AA|website=vajirayana.org}}</ref>
 
=== รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ===
''"ธิดาของเราที่เรารักใคร่ เกิดโดยความสุขแต่มารดาชื่อห่วงนี้ จงมีชื่อว่าบุษบัณ และจงมีความสุขไม่มีโรค มั่งคั่งมีทรัพย์ใหญ่ ข้าศึกทั้งหลาย ไม่พึงครอบงำได้ และดำรงอยู่ในยศที่ตั้งแล้ว พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ประชุมสามรัตน ที่ราชธิดานั้นนับถือชอบแล้ว จงรักษาราชธิดานั้นทุกเมื่อ เทอญ"''
เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 และสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ เสด็จขึ้นเถลิงถวลัยราชสมบัติ ขณะนั้นทรงมีพระชันษาได้ 5 พรรษา ทรงเปลี่ยนพระฐานะมาเป็น "พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน" โดยเมื่อต้นรัชกาลที่ 5 การอบรมศึกษาของเจ้านายฝ่ายในก็ยังคงยึดแบบอย่างธรรมเนียมในรัชกาลที่ 4 ดังที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงพระนิพนธ์ไว้ใน "ความทรงจำ" เกี่ยวกับการศึกษาของเจ้านายไว้ว่า
 
''"...ส่วนเจ้านายพระองค์หญิงนั้น ตั้งแต่โสกันต์แล้ว ก็ทรงศึกษาวิชาความรู้ชั้นสูงขึ้นไปเป็นลำดับ นับแต่การศึกษาศีลธรรมและฝึกหัดวิชาการเรือน และเริ่มเรียนวิชาเฉพาะประเภทอันชอบพระอัธยาศัยสืบเนื่องไป จนอำนวยการต่าง ๆ ในหน้าที่ของขัตติยนารีได้โดยลำพังพระองค์ ข้อที่พระองค์ชายมีโอกาสเรียนราชการเพราะเข้าเฝ้าในเวลาเสด็จออกท้องพระโรง เจ้านายพระองค์หญิงก็มีโอกาสศึกษาทางฝ่ายใน ได้ความรู้ทั้งราชประเพณีและระเบียบวินัยในสมาคมของกุลนารี จนสามารถรับหน้าที่ราชการฝ่ายในและฝึกสอนผู้อื่นสืบกันมา ที่ในพระราชวังจึงเป็นแหล่งสำหรับเรียนวิชามรรยาทสำหรับกุลสตรี เปรียบเหมือนวิทยาลัยอันเป็นที่ผู้มีบรรดาศักดิ์ชอบส่งธิดาเข้าไปฝากให้ศึกษาในสำนักเจ้านายและผู้อื่นที่สามารถฝึกสอน คนทั้งหลายจึงชอบชมผู้หญิงชาววังมาแต่โบราณเพราะการที่ได้ศึกษานั้น..." [https://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B3]''
ทรงมีพระอนุชา 1 พระองค์ คือ [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย]] (ต้นราชสกุล "ไชยันต์")
 
[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์]] ทรงเล่าว่า "เสด็จย่าสร้อย ([[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์]]) กับเสด็จย่าบุษบัน (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน) ทั้งสองพระองค์นี้คุ้นเคยมากเพราะเวลาเสด็จไปอยู่[[พระราชวังพญาไท]] เสด็จย่าทั้งสองพระองค์นี้ก็เสด็จไปด้วย เสด็จย่าสร้อยทรงคุยคล่อง เสด็จย่าบุษบันท่านเงียบ ๆ เมื่อก่อนนี้ ท่านเคยทรงเป็นพี่เลี้ยงทูลกระหม่อมอาติ๋ว"