ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอลับแล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Billner2009 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เพื่อเป็นการเปลี่ยนแปลงข้อมูลตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบขึ้นใหม่
บรรทัด 16:
| image_map = Amphoe 5308.svg
}}
อำเภอลับแล หรือ เมืองลับแล(ง) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอุตรดิตถ์ ที่ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มเชิงเขาคู่ขนานระหว่างแม่น้ำน่านกับแม่น้ำยม ที่มีห้วยลำน้ำแม่พร่องเป็นสายน้ำสำคัญ อันเป็นจุดกำเนิดของมนุษย์ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยประวัติศาสตร์
'''อำเภอลับแล''' หรือ '''เมืองลับแล''' เป็น[[อำเภอ]]หนึ่งใน[[จังหวัดอุตรดิตถ์]] เป็นชุมชนโบราณมีมาตั้งแต่สมัย[[กรุงสุโขทัย]]{{fn|1}} [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้เคยเสด็จมาเมื่อ ปี [[พ.ศ. 2444]] ความเป็นมาของคำว่า “ลับแล” นั้น ตามข้อสันนิษฐานของ[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]<ref>[http://web.archive.org/20080812024746/www.geocities.com/lablae_city/history6.htm ฟู บุญถึง และคณะ . ( ม.ป.ป.) . ลับแลหรือจะแลลับ , สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอลับแล]</ref>ว่า เดิมชาวเมือง[[แพร่]] เมือง[[น่าน]] หนีข้าศึกและความเดือดร้อนมาซุ่มซ่อนตั้งชุมชนอยู่บริเวณนี้ เนื่องจากเป็นที่ป่ารก หลบซ่อนตัวง่ายและ ภูมิประเทศเป็นเมืองอยู่ใน[[หุบเขา]]มีที่เนินสลับกับที่ต่ำ คนต่างเมืองถ้าไม่คุ้นเคยกับภูมิประเทศจะหลงทางได้ง่าย
 
อำเภอลับแลนอกจากจะมีโบราณสถานที่น่าสนใจมากมายแล้ว ยังเป็นแหล่งผลิตสินค้าหัตถกรรมพื้นเมืองล้านนา เช่น ผ้าตีนจก ไม้กวาด เป็นแหล่งปลูก[[ลางสาด]] และทุเรียนหลง-หลินลับแล ซึ่งเป็นผลไม้ที่มีชื่อเสียงของจังหวัด
 
== ประวัติเมืองลับแล ==
[[ไฟล์:ชาวลับแล.jpg|200px|left|thumb|การแต่งกายของชาวลับแลใน[[ภาพช่างซอลับแลง ขณะซอถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมัยรัชกาล เมื่อวันที่ 5]]๒๔ จากตำนานหลักฐานจึงทำให้ทราบว่ากลุ่มชนส่วนใหญ่ ตุลาคม ร.ศ.๑๒๐ ถ่ายโดย ช่างภาพชาวฝรั่งเศสที่มาอยู่ในบริเวณเมืองลับแลในปัจจุบันนั้นอพยพมาจาก[[โยนกนาคพันธุ์|อาณาจักรเชียงแสนโบราณตามเสด็จ ชื่อว่า Joaquin Antonio Apolinario หรือ J. Antonio (โยนกนาคพันธุ์)]]]]
 
[[ไฟล์:Wat-Cedi-Script.jpg .jpg|150px|thumb|ศิลาจารึกเจดีย์พิหาร ขุดได้ที่หน้าวิหาร[[วัดเจดีย์คีรีวิหาร]] มหาอำมาตย์ตรี พระยานครพระราม ส่งเข้าหอสมุดวชิรญาณ กรุงเทพฯ เมื่อปี [[พ.ศ. 2473]] ศาสตราจารย์ ดร.[[ประเสริฐ ณ นคร]] ให้ความเห็นว่าเนื้อหาจารึกน่าจะกล่าวตั้งแต่ครั้งเมื่อ[[พระยาลิไทย]]ขึ้นเสวยราชย์ เป็นหลักฐานหนึ่งที่ยืนยันว่าอาณาบริเวณเมืองลับแลปัจจุบัน เป็นชุมชนที่มีความเก่าแก่มาตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัย]]
 
จากหลักฐานศิลาจารึกเจดีย์พิหาร ขุดได้ที่หน้าวิหารวัดเจดีย์คีรีวิหาร ซึ่งมหาอำมาตย์ตรี พระยานครพระราม ส่งเข้าหอสมุดวชิรญาณ กรุงเทพฯ เมื่อปี [[พ.ศ. 2473]] ศาสตราจารย์ ดร.[[ประเสริฐ ณ นคร]] ให้ความเห็นว่าเนื้อหาจารึกน่าจะกล่าวตั้งแต่ครั้งเมื่อ[[พระยาลิไทย]]ขึ้นเสวยราชย์ เป็นหลักฐานหนึ่งที่ยืนยันว่าอาณาบริเวณเมืองลับแลปัจจุบัน เป็นชุมชนที่มีความเก่าแก่มาตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัย
 
พุทธตำนานกล่าวถึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จมาดินแดนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม แม่น้ำน่านแล้วให้พระบรมสารีริกธาตุไว้กับพญาเก้งทอง รับแล้วก็ฝังไว้ระหว่างเหลี่ยมเขาจนถึงยามเย็นพญาเก้งทองก็ตายพระพุทธเจ้าจึงทำนายไว้ว่าต่อไปอนาคตจะมีผู้คนมาอยู่แล้วได้ชื่อว่า “เมืองลับแลงไชย”<ref>'''ตำนานฉบับเกล๊า พระเจ้ายอดคำติ๊บ  วัดลับแลง(หลวง).'''อุตรดิตถ์ : คณะทำงานศึกษาประวัติศาสตร์เมือง ลับแล (เมืองลับแลง), ๒๕๖๑.
[[ไฟล์:Samut Khoi Laplae1.jpg|150px|left|thumb|สมุดไทยบัญชีถือสังกัดมูลนายประจำแขวงเมืองลับแลในสมัย[[รัชกาลที่ 4]]]]
 
'''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี'''. เชียงใหม่ : ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่
 
         สถาบันราชภัฏเชียงใหม่, ๒๕๓๘.
 
'''ประชุมจารึกภาคที่ ๘ จารึกสุโขทัย'''. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘.
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ๒๕๕๓, คำให้การชาวกรุงเก่า ใน พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา, นนทบุรี: ศรีปัญญา, หน้า ๕๓๔-๕๓๕
 
พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี , ค้นเมื่อ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
 
สุจิตต์ วงษ์เทศ (บรรณาธิการ), พิเศษ เจียรจันทร์พงษ์ นำเสนอ, ๒๕๔๕, ราชวงษ์พงศาวดารพม่า (นายต่อแปล), กรุงเทพ: มติชน, หน้า ๒๙๕
 
จดหมายขอนไม้สักส่วย เมืองลับแล จ.ศ. ๑๑๙๘ เลขที่ ๒๕.
 
จดหมายเหตุในรัชกาลที่ ๓
 
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๗ หน้า ๑ - ๔๒ วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๑๙ (พ.ศ. ๒๔๔๓)
 
</ref>
 
                 เมืองลับแลงตั้งอยู่ที่ราบลุ่มแม่น้ำจึงผู้คนเดิมชาวกะลอม(ขอม)อาศัยอยู่ ต่อมาพ่อขุนรามคำแหงจึงนำคนสุโขทัยมาทำนาปลูกข้าว จึงเป็นเมืองที่อยู่ในความปกครองของรัฐสุโขทัยที่ชื่อว่าเมืองสระหนองหลวง (เมืองทุ่งยั้ง) ในสมัยพระญาลิไทได้ยกเมืองสระหนองหลวงขึ้นกับเมืองเชลียง และสร้างพระมหาเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุประดิษฐานไว้ที่ม่อนเชียงแก้ว โดยให้ชื่อว่า “เจติยะพิหารอารามคีรีเขต”  (ศิลาจารึกเจดีย์พิหาร หลักที่ ๓๑๙)<ref name=":0" /> และเกิดเหตุน้ำท่วมดินโคลน ผู้คนในเมืองล้มตาย บ้านเมืองร้างจึงได้ชื่อว่าเมืองทราก (ซาก) ต่อมา พ.ศ. ๑๙๔๘ เจ้ายี่กุมกามจึงนำคนเชื้อสายชาวยวนจากเมืองเชียงรายมาอยู่ที่เมืองซากตามคำเชิญของพระญาไสลือไท (พระมหาธรรมราชาที่ ๓)
นอกจากนี้ ทางด้านเหนือและตะวันตกของเมืองกัมโพช มีภูมิประเทศเป็นป่าเขาสลับซับซ้อน มีบรรยากาศเยือกเย็นยามพลบค่ำแม้ตะวันจะยังไม่ตกดินก็จะมืดแล้ว เพราะมีดอยม่อนฤๅษีเป็นฉากกั้นแสงอาทิตย์ ป่านี้จึงได้ชื่อว่า "ป่าลับแลง" (''แลง'' เป็น[[ภาษาล้านนา]]แปลว่า เวลาเย็น) ต่อมาเพี้ยนเป็น "ลับแล" ซึ่งกลายมาเป็นชื่ออำเภอลับแลในสมัยปัจจุบัน
 
                 จนกระทั่งเกิดศึกสงครามระหว่างล้านนากับกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. ๑๙๙๔ พระเจ้าติโลกราชยกทัพจากเมืองเชียงใหม่ มาตีเมืองซากแตกได้ยามเย็น จึงเปลี่ยนชื่อเป็น “เมืองลับแลงไชย” แปลว่าได้ชัยชนะตอนเย็น แล้วขึ้นครองเมืองลับแลงไชย เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ของแรกของเมืองลับแลงไชย ในศึกนั้นได้สร้างพระพุทธรูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าอุทิศให้กับเจ้ายี่กุมกาม แล้วยกทัพไปตีเมืองเมืองเชลียงได้ จึงเปลี่ยนชื่อเมืองเป็นเชียงชื่น โดยให้เจ้าหมื่นด้งครอง ต่อมาไม่นานพระญาเจ้าติโลกราชสั่งประหารเจ้าหมื่นด้งนคร นางอั้วป้านคำ นางเมืองเชียงชื่นโกรธไม่พอใจจึงได้ยกเมืองเชลียงและเมืองลับแลงคืนให้สมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ ตั้งแต่นั้นเมืองลับแลงก็เป็นเมืองที่ขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยา ในสมัยอยุธยา ชาวลับแลงได้ถูกเกนคนไปช่วยทำศึกร่วมกับกรุงศรีอยุธยาอยู่เนือง ๆ จนเสร็จศึกหงสาวดีกับกรุงศรีอยุธยา เมืองลับแลงได้ขึ้นกับเมืองพิไชย ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ใน พ.ศ. ๒๒๐๕ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จไปตีเชียงใหม่ได้ผ่านทัพเข้าเมืองลับแลในครานั้นได้บรูณะวิหารหลวงวัดบุปผารามสวนดอกไม้สัก (วัดดอนสัก) ด้วย
อย่างไรก็ดี ที่ตั้งของลับแลได้เป็นส่วนหนึ่งของเมืองทุ่งยั้งในอาณาจักรสุโขทัย จนในปี [[พ.ศ. 1981]] [[เมืองทุ่งยั้ง]] ได้เจริญรุ่งเรืองขึ้นในฐานะเป็นเมืองหน้าด่านของ[[อาณาจักรอยุธยา]] ที่ตั้งของลับแลก็ได้เป็นส่วนหนึ่งของเมืองทุ่งยั้งมาโดยตลอด
 
                 ในสมัยธนบุรี ในปี พ.ศ.๒๓๑๓ พระเจ้าตากสินเสด็จไปปราบก๊กพระฝางที่เมืองฝางสวางคบุรี หลังจากนั้นได้ทรงให้บูรณปฏิสังขรณ์พระอาราม และพระมหาธาตุ แล้วจึงเสด็จพระราชดำเนินไปยั้งทัพเมืองศรีพนมมาศ ทุ่งยั้ง กระทำการสมโภชพระแท่นศิลาอาสน์ถึงสามวัน
ในด้านชาติพันธ์คนลับแลที่ใช้ภาษาถิ่นล้านนานั้น จากข้อสันนิษฐานของ[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]<ref>[http://web.archive.org/20080812024746/www.geocities.com/lablae_city/history6.htm ฟู บุญถึง และคณะ . ( ม.ป.ป.) . ลับแลหรือจะแลลับ , สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอลับแล]</ref> ได้สันนิษฐานจากชาติพันธ์และภาษาของผู้คนในที่ตั้งเมืองลับแลในปัจจุบัน ว่าเดิมเป็นชาวเมือง[[แพร่]] เมือง[[น่าน]] หนีข้าศึกและความเดือดร้อนมาซุ่มซ่อนตั้งชุมชนอยู่บริเวณนี้ เนื่องจากเป็นที่ป่ารก หลบซ่อนตัวง่ายและ ภูมิประเทศเป็นเมืองอยู่ใน[[หุบเขา]]มีที่เนินสลับกับที่ต่ำ คนต่างเมืองถ้าไม่คุ้นเคยกับภูมิประเทศจะหลงทางได้ง่าย ประกอบกับตำนานท้องถิ่น ระบุว่าได้มีผู้คนจาก[[อาณาจักรโยนกเชียงแสน]] อพยพหลบภัยสงครามเข้ามาตั้งรกรากอยู่บริเวณที่ราบเขาแถบลับแล และตั้งชื่อว่า ''บ้านเชียงแสน'' ต่อมาคนกลุ่มนั้นก็แยกย้ายกันไปหักล้างถางดงสร้างบ้านเมือง ขึ้นกระจัดกระจายตามที่ราบและไหล่เขาต่าง ๆ ซึ่งปรากฏว่าได้มีตำนานการอัญเชิญ [[เจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร]] พระราชโอรสของพระเจ้าเรืองชัยธิราช จากอาณาจักรโยนกนาคนครเชียงแสน ถูกสร้างขึ้นอีกในช่วงหลัง ประกอบกับชุมชนลับแลมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ดังปรากฏหลักฐานการสร้างศาสนสถานวัดป่าสัก ซึ่งมีศิลปะเอกลักษณ์แบบอยุธยาผสมล้านนา ทำให้เมืองลับแล กลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่ ที่มีผู้ใช้ภาษาถิ่นล้านนามาตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
 
                 ในสมัยนั้น เมืองลับแล ถูกกองทัพพม่าเชียงใหม่มาตีจนแตกในปีพ.ศ.๒๓๑๕ ซึ่งอยู่ในยุคของพระเจ้าตากสินแห่งกรุงธนบุรี และหลังจากนั้นก็ยกไปตีเมืองพิชัยต่อแต่ไม่สามารถตีเมืองพิชัยได้จึงยกทัพกลับ
ครั้นต่อมาใน[[สมัยรัตนโกสินทร์]] ในราว [[พ.ศ. 2444]] [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จประพาสเมือง[[อุตรดิตถ์]] และได้เสด็จมาถึงเมืองลับแลในวันที่ [[24 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2444]] ได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศาลากลางจังหวัดจากเมืองพิชัยมาตั้งที่บางโพ และยุบเมืองทุ่งยั้งรวมกับลับแล และสถาปนาเมืองลับแลขึ้นเป็นอำเภอ ส่วนอาคารที่ทำการยังตั้งอยู่ที่เมืองทุ่งยั้ง บริเวณใกล้เวียงเจ้าเงาะ
 
                 ในสมัยรัตนโกสินทร์ช่วงสงครามเก้าทัพ เมืองลับแลได้ถูกเนมโยจิสูแม่ทัพพม่าตีแตก หลังจากเสร็จศึกเก้าทัพ เมืองลับแลมีฐานะเป็นส่วนหนึ่งของท่าการค้าเหนือสุดของอาณาจักรสยามในหน้าที่คุมการค้าแม่น้ำน่านควบคู่กับเมืองฝางและบางโพ(อำเภอเมืองอุตรดิตถ์) ในสมัยรัชกาลที่ ๓ หลังเสร็จศึกกบฏเจ้าอนุวงศ์ เชลยชาวลาวพุงขาว(ลาวพวน) ได้มาอยู่อาศัยที่เมือง   ลับแลจำนวน ๕๐ คน ส่งส่วยขอนไม้สักลงพระนคร ในสมัยรัชกาลที่ ๕ มีพื้นบริเวณตั้งของอำเภอลับแล มีเมืองที่ขึ้นต่อเมืองพิไชยถึง ๓ เมือง คือ เมืองทุ่งยั้ง,เมืองลับแล,เมืองด่านนางพูน จนปี พ.ศ. ๒๔๔๕ ได้ยุบเมือง ๓ เมือง ตั้ง เมืองลับแล เพื่อง่ายต่อการปกครอง โดยตำแหน่งพระพิศาลคีรี เป็นผู้ว่าราชการเมือง ในสมัยนี้ยังมีคนเชื้อสายมีผู้คนเชื้อสายชาวจีนนำโดยนายจีนทองอินมาทำการค้าในเมืองลับแล และมาจัดวางรากฐานความเจริญทางเศรษฐกิจและการปกครองจนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ตามลำดับจนถึงยศคุณพระ ในราชทินนาม “พระศรีพนมมาศ”และในสมัยในสมัยรัชกาลที่ ๖ ได้เปลี่ยนการเรียกเลือกเมืองเป็นอำเภอลับแล จนถึงปัจจุบัน
[[ไฟล์:อนุสาวรีย์พระศรีพนมมาศ 4.jpg|150px|left|thumb|อนุสาวรีย์[[พระศรีพนมมาศ]] คนดีเมืองลับแล บริเวณตัวเมืองลับแล]]
 
                 ฉะนั้นอำเภอลับแลจึงเป็นเมืองที่มีผู้คนหลากหลายเชื้อสาย ทั้งชาวเชื้อสายพูดสำเนียงสุโขทัย เชื้อสายไท-ยวนพูดกำเมืองแบบล้านนา เชื้อสายชาวพวนพูดคล้ายกับคนเมืองและเชื้อสายจีนจนหล่อรวมจนเป็นอัตลักษณ์อำเภอลับแลมาจนถึงทุกวันนี้
ต่อมาพระพิศาลคีรี ได้ย้ายอาคารที่ทำการไปตั้งที่ม่อนจำศีลในปีเดียวกันนี้ (ห่างจากที่ว่าการ อำเภอปัจจุบันไปทางทิศเหนือประมาณ 1 กิโลเมตร) ครั้นถึง [[พ.ศ. 2457]] สมัย [[พระศรีพนมมาศ]] (เมื่อครั้งเป็นหลวงศรีพนมมาศ) เห็นว่าห่างไกลจากตัวเมืองลำบากแก่ราษฎรไปติดต่อ ประกอบกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์จะสงวนที่ ''ม่อนจำศีล'' เป็นที่ประดิษฐานพระเหลือ ([[พระพุทธรูป]]ที่สร้างจากทองที่เหลือจากการหล่อ[[พระพุทธชินราช]]ที่[[จังหวัดพิษณุโลก]]) เพราะทรงเห็นว่าทิวทัศน์ของม่อนจำศีลคล้ายกับเมือง[[ชวา]]<ref>[http://www.thai-folksy.com/l2qua/l1-30/15-L2Q.htm รศ.ดร.ประจักษ์ สายแสง, ดร.ทิวารักษ์ เสรีภาพ.วรรณกรรมสองแคว ตอนที่ 15 เรื่อง ภูมินามวิทยา 5 : ลับแล]</ref> จึงได้ย้ายอาคารที่ทำการจากม่อนจำศีล มาอยู่ที่ ''ม่อนสยามินทร์'' (ชาวบ้านเรียกม่อนสามินทร์) เพราะเคยเป็นที่ตั้งพลับพลารับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นที่ตั้งที่ว่าการอำเภอในปัจจุบัน<ref>[http://www.thaiutt.th.gs/web-t/haiutt/data2.htm ข้อมูลอำเภอในจังหวัดอุตรดิตถ์.สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุตรดิตถ์]</ref>
 
== ศิลปะวัฒนธรรม ==
ชาวเมืองลับแลดั้งเดิม มีภาษาถิ่นแบบสำเนียงสุโขทัยโบราณ คือในชุมชนรอบพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ตำบลทุ่งยั้ง ตำบลไผ่ล้อม ซึ่งเป็นเมืองโบราณที่ปรากฏหลักฐานในสมัยสุโขทัย และชุมชนเดิมในพื้นที่ตั้งตัวอำเภอลับแล ก่อนที่จะถูกทิ้งร้าง ปรากฏหลักฐานศิลาจารึกการสถาปนาพระธาตุเจดีย์พิหารในสมัยพระยาลิไทย สันนิษฐานว่าแถบที่ตั้งเมืองลับแลทั้งหมด เป็นชุมชนที่ใช้ภาษาถิ่นแบบสำเนียงสุโขทัยโบราณมาก่อนนับ ๗๐๐ ปี<ref name=":0">ศิลาจารึก . (๒๕๔๘). ประชุมจารึก ภาคที่ ๘ จารึกสุโขทัย. กรุงเทพ : กรมศิลปากร. หน้า ๙</ref>
 
ก่อนที่จะมีการอพยพ[[ชาวไทยวน]]จาก[[อาณาจักรโยนกนาคนครเชียงแสน]]มาในสมัยหลัง ซึ่งปัจจุบัน[[ชาวไทยวน]]ในอำเภอลับแลส่วนใหญ่อยู่ในเขตตอนเหนือของอำเภอ และที่ตั้งตัวอำเภอ ส่วนเขตทางใต้ของอำเภอลับแล ยังคงเป็นชุมชนภาษาถิ่นแบบสำเนียงสุโขทัยโบราณอยู่ ดังนั้นชาวลับแลจึงมีขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม ทั้ง 2 วัฒนธรรม คือชุมชนภาษาถิ่นแบบสำเนียงสุโขทัยโบราณ และชุมชนภาษาถิ่น[[ล้านนา]] มีภาษาพูด ภาษาเขียน การแต่งกาย อาหารการกิน เป็นแบบล้านนา ที่มีใช้อยู่ในแถบล้านนาตะวันออก เช่น แพร่ น่าน เชียงราย และพะเยา เป็นต้น