ผลต่างระหว่างรุ่นของ "5 จี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8738593 โดย Jeabbabeด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
'''5G''' (เครือข่ายโทรศัพท์มือถือรุ่นหรือระบบไร้สายรุ่นที่ 5) เป็นเครือข่ายไร้สายที่ถูกพัฒนาและเริ่มใช้ในปีพ.ศ. 2561 เป็นต้นมา<ref name=":0">{{Cite web|url=http://www.itu.int/en/ITU-R/study-groups/rsg5/rwp5d/imt-2020/Pages/default.aspx|title=ITU towards “IMT for 2020 and beyond” - IMT-2020 standards for 5G|last=|first=|date=|website=International Telecommunications Union|language=en-US|access-date=2017-02-22}}</ref> เทคโนโลยีพื้นฐานได้แก่คลื่นความถี่ ([[Millimeter wave]] bands 26, 28, 38, และ 60&nbsp;GHz) มีประสิทธิภาพสูงสุดถึง 20 จิกะบิตต่อวินาที<ref>{{Cite web|url=https://spectrum.ieee.org/video/telecom/wireless/5g-bytes-millimeter-waves-explained|title=5G Bytes: Millimeter Waves Explained|website=IEEE Spectrum: Technology, Engineering, and Science News|language=en|access-date=2018-03-07}}</ref> [[MIMO]](Multiple Input Multiple Output - 64-256 antennas)ประสิทธิภาพสูงซึ่งเร็วกว่า 4G ถึง 10 เท่า<ref>{{Cite news|url=http://newsroom.sprint.com/sprint-unveils-5g-ready-massive-mimo-markets.htm|title=Sprint Unveils Six 5G-Ready Cities; Significant Milestone Toward Launching First 5G Mobile Network in the U.S. {{!}} Sprint Newsroom|access-date=2018-03-07|language=en}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://5g.co.uk/guides/what-is-massive-mimo-technology/|title=What Is Massive MIMO Technology?|website=5g.co.uk|language=en-GB|access-date=2018-02-28}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://5g.ieee.org/tech-focus/march-2017/massive-mimo-for-5g|title=Massive MIMO for 5G - IEEE 5G|website=5g.ieee.org|language=en-gb|access-date=2018-02-28}}</ref> 5G ย่านความถี่ต่ำและกลางใช้ความถี่ระหว่าง 600&nbsp;MHz ถึง 6 GHz โดยเฉพาะระหว่าง 3.5-4.2 GHz<ref>{{Cite web|url=https://www.itu.int/en/ITU-R/study-groups/rsg5/rwp5d/imt-2020/Pages/default.aspx|title=ITU towards “IMT for 2020 and beyond”|website=www.itu.int|language=en-US|access-date=2018-02-28}}</ref><ref>{{Cite news|url=http://www.eweek.com/mobile/t-mobile-to-use-low-band-spectrum-to-provide-5g-service|title=T-Mobile to Use Low-Band Spectrum to Provide 5G Service|work=eWEEK|access-date=2018-02-28|language=en-US}}</ref>
 
ในปีพ.ศ. 2560 หลายบริษัทต่างพัฒนาเทคโนโลยี 5G เช่น [[Samsung]], [[Intel]], [[Qualcomm]], [[Nokia]], [[Huawei]], [[Ericsson]], [[ZTE]] และอื่น ๆ<ref>{{cite web|url=https://www.netscribes.com/top-companies-leading-5g-development/|title=Top companies leading 5G development|work=Netscribes|date=9 November 2017}}</ref> แม้ว่า 5G จะครอบคุลมทั่วโลกภายในปี 2563 [[ประเทศเกาหลีใต้|เกาหลีใต้]]ได้เริ่มให้บริการเทคโนโลยีนี้ที่โอลิมปิกฤดูหนาว 2018<ref name=":1">{{cite news|author1=Seong-Mok Oh|title=KT showcases 5G innovation at the Olympics in PyeongChang|url=http://news.itu.int/kt-showcase-5g-olympics/|accessdate=2 March 2018|work=ITU News|date=February 12, 2018}}</ref><ref name=":22">{{cite news|last1=Kang|first1=Seung-woo|title=KT showcasing 5G technology at PyeongChang Games|url=https://www.koreatimes.co.kr/www/tech/2018/02/133_244381.html|accessdate=2 March 2018|work=[[The Korea Times]]|date=20 February 2018}}</ref> ในปีพ.ศ. 2561 [[เวอไรซอนไวร์เลสส์|Verizon]] วางแผนจะให้บริการ 5G FWA ใน 4 เมืองในสหรัฐ [[แซคราเมนโต (รัฐแคลิฟอร์เนีย)|แซคราเมนโต]] [[ลอสแอนเจลิส|แอลเอ]] [[อินเดียแนโพลิส]] และ[[ฮิวสตัน]]
 
==ความเป็นมาของ 5G==
การสือสารไร้สายรุ่นใหม่ๆมักปรากฏทุกๆ 10 ปีนับจากครั้งแรกที่ระบบเครือข่าย [[1G]] โดย [[Nordic Mobile Telephone]] ได้เป็นที่รู้จักกันในปี 1981 ต่อมาระบบเครือข่าย[[2G]] ก็ได้เริ่มถูกใช้งานในปี 1992 ส่วนระบบเครือข่าย [[3G]] ได้ปรากฏเป็นครั้งแรกเมื่อปี 2001 และระบบเครือข่าย [[4G]] ที่ทำงานสอดคล้องกับระบบ [[IMT Advanced]]ก็ได้รับมาตรฐานในปี 2012 เช่นกัน
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/5_จี"