ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารธนชาต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
}}
 
'''ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) ''' ({{lang-en|Thanachart Bank Public Company Limited (TBANK) }}) เป็น[[ธนาคารพาณิชย์]]ที่มีจำนวนสาขามากเป็นอันดับ 5 ของประเทศไทย โดยมีสาขา ทั้งหมดกว่า 600 สาขา เริ่มเปิดดำเนินการวันแรกเมื่อวันที่ [[22 เมษายน]] [[พ.ศ. 2545 ปัจจุบันได้โอนขายกิจการให้แก่[[ธนาคารทหารไทย]] และกลายเป็น [[ธนาคารทหารไทยธนชาต]]
 
== ประวัติ ==
ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทในกลุ่มธนชาต กลุ่มธุรกิจการเงินที่มีอายุมากกว่า 35 ปี เดิมเป็นสถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจในชื่อ [[บริษัทเงินทุน]] เอกชาติ จำกัด (มหาชน) ธนาคารธนชาต ได้เปิดให้บริการ เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2545 ภายใต้ใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ หลังจากนั้นได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ จากกระทรวงการคลังเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2547
ในปี พ.ศ. 2550 ธนาคารแห่งโนวาสโกเทีย (สโกเทียแบงก์) ธนาคารที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นธนาคารที่มีความมั่นคงอันดับต้น ๆ ของโลก ได้เข้ามาร่วมถือหุ้นธนาคารธนชาตอยู่ร้อยละ 24.99 ก่อนที่จะถือเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 49 ในปี พ.ศ. 2552 ส่วนหุ้นอีกร้อยละ 51 ของธนาคารธนชาต เป็นการถือโดย บริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน) หรือ TCAP ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และมีผู้ถือหุ้น ส่วนใหญ่เป็นประชาชนทั่วไปไม่มีตระกูลใดถือหุ้นใหญ่
ปี 2553 ถือเป็นปีที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อการเติบโตของธนาคารธนชาต เนื่องจากเป็นปีที่ธนาคารประสบความสำเร็จในการเข้าซื้อกิจการ[[ธนาคารนครหลวงไทย]] จำกัด (มหาชน) จากกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน และจากการขอซื้อหลักทรัพย์ที่เหลือทั้งหมดของธนาคารนครหลวงไทยจากผู้ถือหลักทรัพย์รายย่อยอื่น (Tender offer) ทำให้ธนาคารธนชาตเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของธนาคารนครหลวงไทย
เดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 มีการรวมกิจการระหว่างธนาคารธนชาต และธนาคารนครหลวงไทยเสร็จสิ้นสมบูรณ์ นับเป็นการรวมกิจการที่ถือเป็นประวัติศาสตร์ครั้งสำคัญของวงการธนาคารพาณิชย์ไทยและเป็นไปตามนโยบายของทางการที่ต้องการให้ธนาคารต่าง ๆ รวมกิจการกันเป็นธนาคารขนาดใหญ่ เพื่อสร้างความแข็งแกร่งแก่ระบบสถาบันการเงินและเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ การรวมกิจการครั้งนั้นทำให้ธนาคารธนชาตมีความพร้อมทั้งด้านเงินทุน มีช่องทางในการให้บริการลูกค้าทั้งที่เป็นลูกค้าบุคคล (Retail) และลูกค้าสถาบัน (Corporate) ได้มากขึ้น ในธุรกิจที่หลากหลายยิ่งขึ้น ทำให้ธนาคารมีเสถียรภาพในการบริหารจัดการรายได้ ส่งผลให้มีความมั่นคงและพร้อมสำหรับการเติบโตเป็นอย่างยิ่ง
 
ธนาคารธนชาตเปิดให้บริการ เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2545 ภายใต้ใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์แบบจำกัดขอบเขตธุรกิจ หลังจากนั้นได้รับใบอนุญาตประกอบการธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบจาก[[กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)|กระทรวงการคลัง]]เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2547
== ความหมาย “ธนชาต” ==
“ธนชาต” คำนี้มีความหมาย เริ่มแรกทุกบริษัทในกลุ่มธนชาต ใช้ชื่อว่า “ธนชาติ” ซึ่งตามรูปศัพท์หมายถึง การเกิดแห่งทรัพย์ ต่อมาเมื่อเปิดดำเนินการ ธนาคารธนชาต จึงใช้ชื่อว่า “ธนชาต” เนื่องจากติดข้อกำหนดของธนาคารแห่งประเทศไทยที่ไม่อนุญาตให้ใช้คำว่า “ชาติ” เป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของชื่อของธนาคารพาณิชย์ ดังนั้น เพื่อเป็นการง่ายต่อการสร้างความจดจำในการสื่อสารเรื่องแบรนด์ ทุกบริษัทในกลุ่มธนชาตจึงเปลี่ยนมาใช้ชื่อ “ธนชาต” (ซึ่งเป็นคำพ้องเสียงกับ “ธนชาติ”) ตั้งแต่นั้นมา โดย “ธนชาต” ตามรูปศัพท์ หมายถึง ทรัพย์ที่เกิดแล้ว
 
ในปี พ.ศ. 2550 ธนาคารแห่งโนวาสโกเทีย (สโกเทียแบงก์) ธนาคารที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นธนาคารที่มีความมั่นคงอันดับต้น ๆ ของโลก ได้เข้ามาร่วมถือหุ้นธนาคารธนชาตอยู่ร้อยละ 24.99 % ก่อนที่จะถือเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 49% ในปี พ.ศ. 2552 ส่วนหุ้นอีกร้อยละ 51% ของธนาคารธนชาต เป็นการถือโดย บริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน) หรือ TCAP ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และมีผู้ถือหุ้น ส่วนใหญ่เป็นประชาชนทั่วไปไม่มีตระกูลใดถือหุ้นใหญ่
 
ปีพ.ศ. 2553 ถือเป็นปีที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อการเติบโตของธนาคารธนชาต เนื่องจากเป็นปีที่ธนาคารประสบความสำเร็จในการเข้าซื้อกิจการ[[ธนาคารนครหลวงไทย]] จำกัด (มหาชน) จากกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน และจากการขอซื้อหลักทรัพย์ที่เหลือทั้งหมดของธนาคารนครหลวงไทยจากผู้ถือหลักทรัพย์รายย่อยอื่น (Tender offer) ทำให้ธนาคารธนชาตเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของธนาคารนครหลวงไทย
 
เดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 มีการรวมเข้าซื้อกิจการระหว่างธนาคารธนชาต และธนาคารนครหลวงไทยของธนาคารธนชาตเสร็จสิ้นสมบูรณ์ นับเป็นการควบรวมและเข้าซื้อกิจการที่ถือเป็นประวัติศาสตร์ครั้งสำคัญของวงการธนาคารพาณิชย์ไทย และเป็นไปตามนโยบายของทางการที่ต้องการให้ธนาคารต่าง ๆ รวมกิจการกันเป็นธนาคารขนาดใหญ่ เพื่อสร้างความแข็งแกร่งแก่ระบบสถาบันการเงินและเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ การรวมกิจการครั้งนั้นทำให้ธนาคารธนชาตมีความพร้อมทั้งด้านเงินทุน มีช่องทางในการให้บริการลูกค้าทั้งที่เป็นลูกค้าบุคคล (Retail) และลูกค้าสถาบัน (Corporate) ได้มากขึ้น ในธุรกิจที่หลากหลายยิ่งขึ้น ทำให้ธนาคารมีเสถียรภาพในการบริหารจัดการรายได้ ส่งผลให้มีความมั่นคงและพร้อมสำหรับการเติบโตเป็นอย่างยิ่ง
 
== ความหมาย “ธนชาต” ==
“ธนชาต” คำนี้มีความหมาย เริ่มแรกทุกบริษัทในกลุ่มธนชาต ใช้ชื่อว่า “ธนชาติ” ซึ่งตามรูปศัพท์หมายถึง การเกิดแห่งทรัพย์ ต่อมาเมื่อเปิดดำเนินการ ธนาคารธนชาต จึงใช้ชื่อว่า “ธนชาต” เนื่องจากติดข้อกำหนดของธนาคารแห่งประเทศไทยที่ไม่อนุญาตให้ใช้คำว่า “ชาติ” เป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของชื่อของธนาคารพาณิชย์ ดังนั้น เพื่อเป็นการง่ายต่อการสร้างความจดจำในการสื่อสารเรื่องแบรนด์ ทุกบริษัทในกลุ่มธนชาตจึงเปลี่ยนมาใช้ชื่อ “ธนชาต” (ซึ่งเป็นคำพ้องเสียงกับ “ธนชาติ”) ตั้งแต่นั้นมา โดย “ธนชาต” ตามรูปศัพท์ หมายถึง ทรัพย์ที่เกิดแล้ว
== บริษัทในกลุ่มธนชาต ==
#[[ทุนธนชาต|บริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน)]] ประกอบธุรกิจการลงทุน (Holding Company) เป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินธนชาต
เส้น 46 ⟶ 49:
== พัฒนาการสำคัญของกลุ่มธนชาต ==
 
*พ.ศ. 2523 ก่อตั้ง [[บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์]] (บงล.) ธนชาติ จำกัด<br />
*พ.ศ. 2532 บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ บงล.ธนชาติ จำกัด เข้าถือหุ้นใน บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ บงล.เอกชาติ จำกัด <br />
*พ.ศ. 2540 แยกกิจการหลักทรัพย์และกิจการเงินทุนออกจากกัน โดย[[บริษัทเงินทุน]] (บง.) ธนชาติ จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจด้านเงินทุน, [[บริษัทหลักทรัพย์]] (บล.) ธนชาติ จำกัด ดำเนินธุรกิจด้านหลักทรัพย์ก่อตั้ง บริษัท ธนชาติประกันชีวิต จำกัด และ บริษัท ธนชาติประกันภัย จำกัด <br />
*พ.ศ. 2541 บริษัทเงินทุน บง.ธนชาติ จำกัด (มหาชน) เข้าถือหุ้นในบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมออมสิน จำกัด และเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม (บลจ.) ธนชาติ จำกัด<br />
*พ.ศ. 2543 ก่อตั้ง บริษัทบริหารสินทรัพย์ (บบส.) แม๊กซ์ จำกัด และบริษัทบริหารสินทรัพย์ บบส.เอ็น เอฟ เอส จำกัด โดยกลุ่มซูริค ไฟแนนเชียล เซอร์วิส ร่วมเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกับธนชาติและได้เข้าถือหุ้นใน บริษัท บจก.ธนชาติประกันชีวิต และเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ธนชาติซูริคประกันชีวิต จำกัด <br />
*พ.ศ. 2545 กลุ่มธนชาติได้รับอนุญาตใบอนุญาตประกอบกิจการ[[ธนาคารพาณิชย์]]จากกระทรวงการคลัง บริษัทเงินทุน บง.เอกชาติ จำกัด (มหาชน) ได้เปลี่ยนการประกอบธุรกิจจากเงินทุนเป็นธนาคารพาณิชย์โดยใช้ชื่อว่า ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)<br />
*พ.ศ. 2548 -
**บง.ศ. 2548 บริษัทเงินทุน ธนชาติ จำกัด (มหาชน) ซื้อหุ้นบริษัท บจก.ธนชาติซูริคประกันชีวิต จำกัด คืนจากกลุ่มซูริค และเปลี่ยนชื่อกลับไปเป็น บริษัท บจก.ธนชาตประกันชีวิต จำกัด<br />
*พ.ศ. 2548 กระทรวงการคลังได้ให้ความเห็นชอบแผนการปรับโครงสร้างการประกอบธุรกิจสถาบันการเงินของกลุ่มธนชาตให้เป็น สถาบันการเงิน 1 รูปแบบ ตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน <br />
*พ.ศ. 2549 บริษัทเงินทุน ธนชาติ จำกัด (มหาชน)คืนใบอนุญาต*กระทรวงการคลังได้ให้ความเห็นชอบแผนการปรับโครงสร้างการประกอบธุรกิจเงินทุน พร้อมเปลี่ยนชื่อสถาบันการเงินของกลุ่มธนชาตให้เป็นบริษัทสถาบันการเงิน ทุนธนชาต1 จำกัดรูปแบบ (มหาชน) ซึ่งเป็นไปตามแผนพัฒนาระบบ[[สถาบันการเงินของกระทรวงการคลัง <br]] />
*พ.ศ. 2549 บง.ธนชาติ คืนใบอนุญาตประกอบธุรกิจเงินทุน พร้อมเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นไปตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินของกระทรวงการคลัง
*พ.ศ. 2550 ปรับโครงสร้างการถือหุ้นบริษัทในกลุ่มธนชาตใหม่ โดย บริษัท บมจ.ทุนธนชาต ถือหุ้นเฉพาะในธนาคารธนชาตกับกลุ่มบริษัทบริหารสินทรัพย์ บบส. และธนาคารธนชาตถือหุ้นในบริษัทย่อย ที่ประกอบธุรกิจการเงินและธุรกิจสนับสนุน ธนาคารแห่งโนวาสโกเทียเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับธนาคารธนชาต โดยเข้าถือ หุ้นจำนวนร้อยละ 24.99 % หลังจากนั้นได้ถือเพิ่มเป็นร้อยละ 49 % ในปี 2552<brพ.ศ. />2552
*ปีพ.ศ. 2553 ธนาคารธนชาต ธนชาตเข้าซื้อหุ้น[[ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน)]] ร้อยละ 47.58 จากกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน และซื้อจากผู้ถือหุ้นรายย่อยอื่น (Tender offer) ทำให้ธนาคารธนชาตถือหุ้นในธนาคารนครหลวงไทยรวมทั้งสิ้นร้อยละ 99.95
*ปีพ.ศ. 2554 ธนาคารนครหลวงไทยโอนขายกิจการทั้งหมดให้แก่ธนาคารธนชาตในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ทำให้ธนาคารธนชาตเติบโตเป็นธนาคารพาณิชย์ชั้นนำของประเทศ มีสินทรัพย์ ช่องทางในการเข้าถึงลูกค้าทั้งสาขาและตู้เอทีเอ็ม รวมถึงฐานลูกค้าเพิ่มขึ้น
*ปีพ.ศ. 2556 ธนาคารธนชาต และพรูเด็นเชียล ประกันชีวิต ร่วมมือทางธุรกิจในการแนะนำผลิตภัณฑ์และบริการด้านประกันชีวิต ผ่านสาขาของธนาคารธนชาต มีกำหนดระยะเวลา 15 ปี และธนาคารธนชาตได้ดำเนินการโอนหุ้นที่ถืออยู่ใน ธนชาตประกันชีวิต ทั้งหมดจำนวนร้อยละ 100 ให้แก่พรูเด็นเชียล
*ปีพ.ศ. 2557 บริษัท ทุนธนชาต และ บริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน) ได้ร่วมกันซื้อหุ้นทั้งหมดของบริษัท ประกันชีวิตนครหลวงไทย จากธนาคารธนชาต ทำให้ปัจจุบัน ประกันชีวิตนครหลวงไทย มี ทุนธนชาตถือหุ้นร้อยละ 53.5 และเอ็มบีเค ถือร้อยละ 46.5
* ปีพ.ศ. 2562 ธนาคารธนชาตและธนาคารแห่งโนวาสโกเทียได้ลงนามในเอ็มโอยู[[บันทึกความเข้าใจ]][[การควบรวมและเข้าซื้อกิจการกับ |โอนขายกิจการ]]แก่[[ธนาคารทหารไทย]] เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับทั้งสองธนาคาร
* ปีพ.ศ. 2563 ทีเอ็มบี และ[[ธนาคารทหารไทยธนชาต]] เปิดให้บริการแล้วทุกสาขา ตั้งแต่วันที่ 1 มิ.ย. 63 นี้เป็นต้นไปมิถุนายน
*พ.ศ. 2564 -
**วันที่ 23 เมษายน ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการเปลี่ยนชื่อธนาคารทหารไทย
**วันที่ 7 พฤษภาคม เปิดตัว [[ธนาคารทหารไทยธนชาต]] อย่างเป็นทางการ
 
 
เส้น 212 ⟶ 219:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==