ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Imposterrr (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Phainplang (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล คณะในมหาวิทยาลัย
| ชื่อ = คณะเภสัชศาสตร์ <br>[[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]]
| ชื่ออังกฤษ = Faculty of Pharmaceutical SciencesPharmacy, Mahasarakham University
| อักษรย่อ = PSภ. / PC
| ภาพ = [[ไฟล์:Pharmacy MSU LOGO.png|180px]]
| วันที่ก่อตั้ง = {{วันเกิดและอายุ|2542|2|13}}
| คณบดี = ผศ.ภญ.ดร.ภญ.ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง<ref>[http://pharmacy.msu.ac.th/home/?page_id=5979 คณบดีคณะเภสัชศาสตร์] สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2564</ref>
| สีประจำคณะ = {{color box|olivedrab}} [[สีเขียว|สีเขียวมะกอก]]
| สัญลักษณ์คณะ = [[ถ้วยยาไฮเจีย|ถ้วยยาไฮเกีย]], [[โกร่งบดยา]], [[ใบสั่งยา|เรซิพี (℞)]]และ[[เฉลว]]
| ที่อยู่ = อาคารเภสัชศาสตร์สิรินธร เลขที่ 41 หมู่ 20 ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย [[จ.มหาสารคาม]] 44150
| เว็บ = [http://www.pharmacy.msu.ac.th/ pharmacy.msu.ac.th]
บรรทัด 14:
}}
 
'''คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]] : Faculty of Pharmaceutical SciencesPharmacy, Mahasarakham University) เป็น[[ส่วนราชการ]][[ประเทศไทย|ไทย]]ระดับ[[คณะวิชา]]สังกัด[[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 7 ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยสภามหาวิทยาลัย มีมติให้จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพขึ้นเป็นหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ [[13 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2542]] นับเป็นคณะเภสัชศาสตร์ลำดับที่ 12 ของประเทศไทย และเป็นลำดับที่ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
==ประวัติ==
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้เริ่มมีแนวคิดการก่อตั้งคณะเภสัชศาสตร์เมื่อ ปี พ.ศ. 2539 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยได้จัดทำโครงการจัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ขึ้นในสังกัด[[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะวิทยาศาสตร์]] การดำเนินงานในระยะแรกเป็นการเตรียมความพร้อมด้านอาจารย์ด้วยการคัดเลือกบุคคลเข้ารับทุนศึกษาต่อในระดับ ปริญญาโทและเอก
[[ไฟล์:Sirindhorn Pharmacy Building.jpg|thumb|อาคารเภสัชศาสตร์สิรินธร|300px]]
เมื่อ ปี พ.ศ. 2539 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้จัดทำโครงการจัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ขึ้นในสังกัด[[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะวิทยาศาสตร์]] การดำเนินงานในระยะแรกเป็นการเตรียมความพร้อมด้านอาจารย์ด้วยการคัดเลือกบุคคลเข้ารับทุนศึกษาต่อในระดับ ปริญญาโทและเอก
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2541 มหาวิทยาลัยมหาสารคามและ [[กระทรวงสาธารณสุข]] ได้จัดทำข้อตกลงความร่วมมือจัดการศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต โดยให้อยู่ในความรับผิดชอบของโครงการจัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ ทำให้พันธกิจของโครงการมีขอบเขตความรับผิดชอบ 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์และสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ จึงมีการเปลี่ยนชื่อโครงการให้เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจที่เพิ่มขึ้น เป็น '''"โครงการจัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ"'''
 
วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 สภามหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีมติให้จัดตั้ง '''"คณะเภสัชศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ"''' ขึ้นเป็นหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยลำดับที่ 7 ของมหาวิทยาลัย นับเป็นคณะเภสัชศาสตร์ ลำดับที่ 12 ของประเทศไทย และเป็นลำดับที่ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือถัดจาก[[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น|มหาวิทยาลัยขอนแก่น]]และ[[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี|มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี]] โดยมีศาสตราจารย์อาร์เอ็มอี ริชาร์ด (Prof. RME Richards, OBE) ดำรงตำแหน่งรักษาการคณบดีเป็นคนแรก ในช่วงปีการศึกษา 2541-2544 เปิดสอนระดับปริญญาตรี 3 หลักสูตร ดังนี้
 
* หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ต่อเนื่อง 2 ปี รับนิสิตรุ่นแรกในปี 2541
เส้น 28 ⟶ 27:
* หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (PharmD) รับนิสิตรุ่นแรกในปี 2543
 
ปีการศึกษา 2545 ได้เปิดหลักสูตรใหม่เพิ่มขึ้นอีก 2 หลักสูตร ระดับปริญญาตรี ได้แก่ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ต่อเนื่อง 2 ปี ระดับปริญญาโทได้แก่ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต คณะจึงมีขอบเขตความรับผิดชอบเพิ่มขึ้นเป็น 3 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ และสาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ในเดือนสิงหาคม 2546 มีการแยกสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ออกไปจัดตั้งเป็น[[คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะสาธารณสุขศาสตร์]] ในเดือนมกราคม 2547 มีการย้ายสาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ออกไปสังกัด[[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะแพทยศาสตร์]] ส่งผลให้ในวันที่ 9 มภาพันธ์ 2548 สภามหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ปรับปรุงระเบียบและเปลี่ยนชื่อคณะเภสัชศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ เป็น '''"คณะเภสัชศาสตร์"''' เรียกชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า '''"Faculty of Pharmaceutical SciencesPharmacy"'''
 
== สัญลักษณ์ ==
* '''สัญลักษณ์ประจำคณะ'''
สัญลักษณ์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คือ [[ถ้วยยาไฮเจีย|ถ้วยยาไฮเกีย]], [[โกร่งบดยา]], [[ใบสั่งยา|เรซิพี (℞)]] และ[[เฉลว]]
 
* '''สีประจำคณะ'''
{{color box|olivedrab}} [[สีเขียว|สีเขียวมะกอก]]
 
* '''ต้นไม้/ดอกไม้ประจำคณะ'''
 
== กลุ่มวิชา ==
เส้น 46 ⟶ 54:
! style = "background: olivedrab; color:white; "| ระดับปริญญามหาบัณฑิต
! style = "background: olivedrab; color:white; "| ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต
|-
|-
| valign = "top" |
'''สำนักกลุ่มวิชาเภสัชศาสตร์สังคม'''
 
| valign = "top" |
'''หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้นการบริบาลทางเภสัชกรรม'''
* '''[http://pharmacy.msu.ac.th/home/wp-content/uploads/2020/08/approved.pdf สาขาวิชาอายุรกรรม]
 
| valign = "top" |
'''หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (ภ.บ.)'''
* '''[http://pharmacy.msu.ac.th/home/?page_id=1489 สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม]
 
| valign = "top" |
| valign = "top" |
|-
| valign = "top" style="background: #FFFACD" |
'''กลุ่มวิชาเภสัชกรรมคลินิกและวิจัย'''
| valign = "top" style="background: #FFFACD" |
| valign = "top" style="background: #FFFACD" |
| valign = "top" style="background: #FFFACD" |
'''หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.ม.)'''
* '''[http://pharmacy.msu.ac.th/home/?page_id=1504 สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิก]
* '''[http://pharmacy.msu.ac.th/home/?page_id=1506 สาขาวิชาเภสัชกรรมปฐมภูมิ]
| valign = "top" style="background: #FFFACD" |
'''หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)'''
* '''[http://pharmacy.msu.ac.th/home/?page_id=1498 สาขาวิชาเภสัชศาสตร์]
|-
| valign = "top" |
'''กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ทางเภสัชศาสตร์'''
| valign = "top" |
| valign = "top" |
| valign = "top" |
'''หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)'''
* '''[http://pharmacy.msu.ac.th/home/?page_id=1508 สาขาวิชาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย]
 
| valign = "top" |
'''หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)'''
* '''[http://pharmacy.msu.ac.th/home/?page_id=1498 สาขาวิชาเภสัชศาสตร์]
|-
|}
เส้น 81 ⟶ 100:
! style= "background: olivedrab; color:white; " | วาระการดำรงตำแหน่ง
|-
| valign = "top" style="background: #f0fff0" | 1. Prof. RME Richards, O.B.E.
| valign = "top" style="background: #f0fff0" | 13 ก.พ. 2542 - 17 เม.ย. 2545
|-
| valign = "top" style="background: #f0fff0FFFACD" | 2. รศ.ดร.อรุณศรี ปรีเปรม<ref>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, [https://meeting.msu.ac.th/meeting_2556/file/documents_51/doc_command/k_pharmacy_45.pdf คำสั่งมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ 809/2545], 18 มีนาคม 2564.</ref>
| valign = "top" style="background: #f0fff0FFFACD" | 18 เม.ย. 2545 - 17 เม.ย. 2547
|-
| valign = "top" style="background: #f0fff0" | 3. รศ.ดร.พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์<ref>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, [https://meeting.msu.ac.th/meeting_2556/file/documents_51/doc_command/k_pharmacy_51.pdf คำสั่งมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ 1115/2551], 18 มีนาคม 2564.</ref>
| valign = "top" style="background: #f0fff0" | 18 เม.ย. 2547 - 4 มิ.ย. 2551
|-
| valign = "top" style="background: #f0fff0FFFACD" | 4. ผศ.ดร. จันทร์ทิพย์ กาญจนศิลป์<ref>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, [https://meeting.msu.ac.th/meeting_2556/file/documents_51/doc_command/k_pharmacy_51%20(2).pdf คำสั่งมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ 1706/2551], 18 มีนาคม 2564.</ref>
| valign = "top" style="background: #f0fff0FFFACD" | 5 มิ.ย. 2551 - 31 ธ.ค. 2559 (ดำรงตำแหน่ง 2 วาระ)
|-
| valign = "top" style="background: #f0fff0" | 5. ผศ.ดร.ภญ.ดร. ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง<ref>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, [https://meeting.msu.ac.th/meetingmsu/images/documents/doc_command/%e0%b8%84%e0%b8%b3%e0%b8%aa%e0%b8%b1%e0%b9%88%e0%b8%87%20%e0%b9%81%e0%b8%95%e0%b9%88%e0%b8%87%e0%b8%95%e0%b8%b1%e0%b9%89%e0%b8%87%e0%b8%84%e0%b8%93%e0%b8%9a%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%84%e0%b8%93%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%a0%e0%b8%aa%e0%b8%b1%e0%b8%8a%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%aa%e0%b8%95%e0%b8%a3%e0%b9%8c%20(%e0%b8%9c%e0%b8%a8.%e0%b8%8a%e0%b8%99%e0%b8%b1%e0%b8%95%e0%b8%96%e0%b8%b2%20%e0%b8%9e%e0%b8%a5%e0%b8%ad%e0%b8%a2%e0%b9%80%e0%b8%a5%e0%b8%b7%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%a1%e0%b9%81%e0%b8%aa%e0%b8%87)(31%20%e0%b8%a1%e0%b8%b5.%e0%b8%84.%2060).pdf คำสั่งมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ 1193/2560], 18 มีนาคม 2564.</ref>
| valign = "top" style="background: #f0fff0" | 1 เม.ย. 2560 - ปัจจุบัน
|-
|}
 
== การรับบุคคลเข้าศึกษาและอันดับของคณะ ==
{| class="wikitable" style="text-align:center;" width="24%" align="right"
|-
! colspan ="5" style="background-color: #FFCB14" | อันดับคณะเภสัชศาสตร์
|-
! colspan ="2" style="background-color: olivedrab" |<small>โดยผลการสอบใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม</small>
|-
| width=12% |<small>'''ปีการศึกษา'''</small> || width=5% |<small>'''อันดับ(ร้อยละที่ผ่าน)'''</small>
|-
| width=8% |<small>'''2552'''</small> || width=13% |<small>'''4 (80.4)'''</small>
|-
| width=8% |<small>'''2553'''</small> || width=13% |<small>'''7 (69.0)'''</small>
|-
| width=8% |<small>'''2554'''</small> || width=13% |<small>'''9 (82.05)'''</small>
|-
| width=8% |<small>'''2555'''</small> || width=13% |<small>'''6 (87.0)'''</small>
|-
| width=8% |<small>'''2556'''</small> || width=13% |<small>'''7 (90.4)'''</small>
|-
| width=8% |<small>'''2560'''</small> || width=13% |<small>'''2 (99.1)'''</small>
|-
| width=8% |<small>'''2561'''</small> || width=13% |<small>'''2 (98.95)'''</small>
|-
| width=8% |<small>'''2562'''</small> || width=13% |<small>'''1 (100.0)'''</small>
|-
|}
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีเกณฑ์การรับบุคคลเข้าศึกษาในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) ทั้งสิ้น 5 โครงการ ได้แก่
# โครงการเด็กดีมีที่เรียน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม<ref>[https://admission.msu.ac.th/upload/dekd-msu-64.pdf ประกาศมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เรื่อง การรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี โครงการเด็กดีมีที่เรียน ปีการศึกษา 2574] สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref>
# โครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนโดยกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย (วมว.)<ref>[https://admission.msu.ac.th/upload/project-20.pdf มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : โครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนโดยกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย (วมว.)] สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref>
# โควตาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<ref>[https://admission.msu.ac.th/upload/quota-2.pdf มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : โควตาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ] สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref>
# โครงการรับตรงร่วมกันผ่าน กสพท. (แอดมิสชัน 1)<ref>[https://admission.msu.ac.th/upload/admission-1.pdf มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : แอดมิสชันรอบที่ 1 ผ่าน กสพท.] สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref>
# โครงการรับกลางร่วมกัน (แอดมิสชัน 2)<ref>[https://admission.msu.ac.th/upload/admission-2.pdf มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : แอดมิสชันรอบที่ 2 ผ่าน ทปอ.] สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref>
 
จากผลการรายงาน 50 อันดับของคณะทางสาขาชีวการแพทย์ของ[[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)|คณะกรรมการการอุดมศึกษา]] ประจำปี พ.ศ. 2552 โดยประเมินคุณภาพของการเรียนการสอนและงานวิจัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้อันดับที่ 30 ในสาขาด้านชีวการแพทย์ทั้งหมด เป็นอันดับที่ 4 ในคณะเภสัชศาสตร์ทั้งหมดและเป็นอันดับ 1 ของคณะเภสัชศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<ref>[http://www.dek-d.com/board/view.php?id=1298154 จัดอันดับคุณภาพคณะชีวการแพทย์ 50 อันดับแรก] สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref><ref>คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [http://cumic.md.chula.ac.th/wwwboard3/messages/12115.html 50 อันดับคณะชีวการแพทย์] สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref><ref>[http://stang.sc.mahidol.ac.th/news/clipping3.htm เปิด 50 อันดับสาขาด้าย "วิจัย-สอน"] สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref> ในส่วนผลการสอบใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมโดย[[สภาเภสัชกรรม (ประเทศไทย)|สภาเภสัชกรรม]] คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีร้อยละของนิสิตผู้สอบผ่านมากเป็นอันดับต้นๆ ของคณะเภสัชศาสตร์ทั่วประเทศ โดยสถิติตั้งแต่ปี 2552 โดยสภาเภสัชกรรม มีดังนี้
* ปี พ.ศ. 2552 มีนิสิตสอบผ่านร้อยละ 80.4 (อันดับที่ 4)<ref>[http://www.unigang.com/Article/1547 Unigang] ''สภาเภสัชฯห่วงคุณภาพ 'หมอยา'ไทยชี้บัณฑิตเภสัชฯม.เอกชนห่วย-ส่อเค้าสั่งห้ามผลิต'' สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref>
* ปี พ.ศ. 2553 มีนิสิตสอบผ่านร้อยละ 69.0 (อันดับ 7)<ref>[http://www.unigang.com/Article/6038] ''ผลการสอบใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมปี 2553'' สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref>
* ปี พ.ศ. 2554 มีนิสิตสอบผ่านร้อยละ 82.05 (อันดับ 9)
* ปี พ.ศ. 2555 มีนิสิตสอบผ่านร้อยละ 87.0 (ุอันดับ 6)<ref>[http://www.unigang.com/Article/6038 Unigang] ''ผลสอบใบประกอบวิชาชีพ เภสัช 2555 !! !'' สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref>
* ปี พ.ศ. 2556 มีนิสิตสอบผ่านร้อยละ 90.4 (อันดับ 7)<ref>[http://silpakornkm.blogspot.com/2013/02/2556.html] ''ขอแสดงความยินดีกับผลสอบใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ปี 2556 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร'' สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref>
* ปี พ.ศ. 2560 มีนิสิตสอบผ่านร้อยละ 99.1 (อันดับ 2)<ref>[https://www.tobepharmacist.com/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8A/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8A2560/] ''ผลการสอบใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ปี 2560'' สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref>
* ปี พ.ศ. 2561 มีนิสิตผ่านร้อยละ 98.95 (อันดับ 2)<ref>[https://www.tobepharmacist.com/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8A/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8A-2561/] ''ผลการสอบใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ปี 2561'' สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref>
* ปี พ.ศ. 2562 นิสิตคณะเภสัชศาสตร์สามารถทำสถิติสอบผ่านใบประกอบวิชาชีพได้ถึง 100% (อันดับ 1) โดยมีผู้เข้าสอบ 92 คน<ref>[https://www.tobepharmacist.com/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8A/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8A-2562/] ''ผลการสอบใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ปี 2562'' สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2564</ref>
 
== สถานที่ตั้งและพื้นที่ ==
[[ไฟล์:Sirindhorn Pharmacy Building.jpg|thumb|อาคารเภสัชศาสตร์สิรินธร|300px]]
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งอยู่ที่อาคารเภสัชศาสตร์สิรินธร ระหว่างอาคารวิทยบริการ C ([[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|วิทยาลัยดุริยางคศิลป์]]) และอาคาร[[คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์]] ด้านหลังติดกับ[[คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะพยาบาลศาสตร์]] และด้านหน้าอยู่ตรงข้ามกับสวนสุขภาพ ส่วนโรงงานฟาร์มแคร์ ตั้งอยู่บริเวณริมสระน้ำหน้าคณะพยาบาลศาสตร์ ถัดจากอาคารปฏิบัติการทางวิศวกรรมศาสตร์ 2
 
==โรงงานฟาร์มแคร์==
คณะเภสัชศาสตร์ได้จัดตั้งโรงงานฟาร์มแคร์ขึ้น โดยใช้อาคารสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน (เดิมเคยใช้เป็นสถานที่ทำปฏิบัติการทางเภสัชศาสตร์ ในช่วงที่ยังไม่มีอาคารเภสัชศาสตร์สิรินธร) เป็นสถานที่ผลิตยาและผลิตภัณฑ์สมุนไพร ซึ่งได้รับใบอนุญาตผลิตยาแผนโบราณเมื่อปลายปี พ.ศ. 2551<ref>คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม [http://pharmacy.msu.ac.th/pharmcare/?page_id=7 โรงงานฟาร์มแคร์] สืบค้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2564</ref> หลังจากนั้นจึงเริ่มขึ้นทะเบียนตำรับยาและผลิตภัณฑ์สมุนไพรออกจำหน่าย โดยในช่วงแรกซึ่งเป็นช่วงที่ยาและผลิตภัณฑ์ยังไม่ได้รับทะเบียน จึงผลิตเฉพาะยาที่ใช้ภายนอกเพื่อจำหน่ายเฉพาะในจังหวัดมหาสารคามเพื่อทดลองตลาด และการสร้างความคุ้นเคยต่อชื่อของโรงงานฟาร์มแคร์ รวมทั้งการเตรียมความพร้อมในการดำเนินการของบุคลากร โดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ขณะนี้มีผลิตภัณฑ์ที่ได้รับทะเบียนอนุญาตการผลิตและกำลังทยอยขึ้นทะเบียนยาอีกหลายตำรับ รวมทั้งกำลังขยายการผลิตในระดับอุตสาหกรรม และปรับปรุงโรงงานให้ได้ตามเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาจากสมุนไพร (Good manufacturing practice for herbal medicinal products, GMP) ในขณะเดียวกัน ได้จัดตั้งโรงงานผลิตอาหารและเครื่องดื่ม ฟาร์มแคร์นูทราซูติคอล (PharmCare Nutraceutical) ที่อาคารเภสัชศาสตร์สิรินธร ชั้น 1 ซึ่งได้รับอนุญาตเป็นสถานที่ผลิตอาหารและเครื่องดื่มแล้วและผลิตเครื่องดื่มตรีผลาเป็นชนิดแรกซึ่งได้รับเลขทะเบียนแล้วเช่นกัน ในปี พ.ศ. 2555
 
โรงงานฟาร์มแคร์ คณะเภสัชศาสตร์ เป็นโรงงานผลิตยาจากสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ที่จัดตั้งขึ้นภายใต้แนวคิดที่ต้องการให้ประชาชนได้ใช้ยาจากสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่มีคุณภาพ ภายใต้การบูรณาการองค์ความรู้ดั้งเดิมและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และตอบสนองต่อการพัฒนาของประเทศ โดยอาศัยความเชี่ยวชาญของบุคลากรในมหาวิทยาลัยและความเข้มแข็งของประเทศทางด้านความอุดมสมบูรณ์ของสมุนไพร ความหลากหลายของสายพันธุ์ และภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ โดยยาและผลิตภัณฑ์ทุกชนิดผ่านการวิจัยและการควบคุมคุณภาพทุกขั้นตอน
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.pharmacy.msu.ac.th/ เว็บไซต์ทางการของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]
* [http://www.msu.ac.th/ เว็บไซต์ทางการของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม]
* [http://pharmacy.msu.ac.th/pharmcare/ เว็บไซต์โรงงานฟาร์มแคร์ คณะเภสัชศาสตร์]
 
== อ้างอิง ==