ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูเขาฟูจิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GeonuchBot (คุย | ส่วนร่วม)
→‎อ้างอิง: บอต: เปลี่ยนชื่อหมวดหมู่
OraMAAG (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox mountain
{|style="float:right;width:350px;border-collapse:collapse;margin:5px;border: 1px solid rgb(153, 153, 102)" border="1" cellpadding="5" cellspacing="0"
|name=ภูเขาไฟฟูจิ|prominence_ref=<ref name=Fujiinfo /><br><small>[[en:List of peaks by prominence|อันดับที่ 35]]</small>|embedded={{Infobox UNESCO World Heritage Site
!bgcolor="#e7dcc3" colspan="2"| ภูเขาไฟฟูจิ <br /> 富士山
|child = yes
|--
|Official_name = Fujisan, sacred place and source of artistic inspiration
|align="center" colspan="2"| [[ไฟล์:Lake Motosu04.jpg|340px|ภูเขาไฟฟูจิจากมุม [[ทะเลสาบโมโตซุ]]]] <small> ภูเขาไฟฟูจิจากมุม [[ทะเลสาบโมโตซุ]] </small>
|ID = 1418
|--
|Year = 25562013
|bgcolor="#e7dcc3"| ความสูง
|TypeCriteria = มรดกทางวัฒนธรรม: iii, vi
| 3,776 เมตร (12,388 ฟุต)
|Area = 20,702.1 ha (207.021 km<sup>2</sup>)
|--
|Buffer_zone = 49,627.7 ha (496.277 km<sup>2</sup>)
|bgcolor="#e7dcc3"| สถานที่ตั้ง
}}|easiest_route=การเดิน|first_ascent=พ.ศ. 1206 โดย [[En no Gyōja|En no Odzunu]] (役行者, En no gyoja, En no Odzuno)|last_eruption=2251|age=100,000 ปี|coordinates_ref=<ref name="Triangulation station">Triangulation station is 3775.63m. {{cite web|url=http://sokuseikagis1.gsi.go.jp/|title=Information inspection service of the Triangulation station|publisher=[[Geospatial Information Authority of Japan]], (甲府–富士山–富士山)|language=ja |access-date=February 8, 2011}}</ref>|native_name={{native name|ja|富士山}}|prominence_m=3776|photo=File:080103 hakkai fuji.jpg|coordinates={{coord|35|21|38|N|138|43|39|E|type:mountain_scale:100000|format=dms|display=inline,title}}|label_position=|country=[[ญี่ปุ่น]]|location=[[อุทยานแห่งชาติฟูจิ-ฮาโกเนะ-อิซุ]]|map_caption=ที่ตั้งของภูเขาไฟฟูจิในญี่ปุ่น|map=Japan#Asia|photo_caption=ภูเขาไฟฟูจิมองจากโอชิโนะฮักไก|photo_size=|map_size=280}}
| [[ชูบุ|ภูมิภาคชูบุ]], [[เกาะฮนชู|ฮนชู]], [[ประเทศญี่ปุ่น]]
|--
|bgcolor="#e7dcc3"| [[พิกัดภูมิศาสตร์]]
|{{coord|35|21|28.8|N|138|43|51.6|E|display=inline,title}}
|--
|bgcolor="#e7dcc3"| ประเภท
| [[กรวยภูเขาไฟสลับชั้น]]
|--
|bgcolor="#e7dcc3"| [[ภูเขาไฟ|ระเบิดครั้งล่าสุด]]
| พ.ศ. 2250 (ค.ศ. 1707)
|--
|bgcolor="#e7dcc3"| ผู้ไต่ถึงยอดเป็นคนแรก
| ในปี พ.ศ. 1206 โดยพระองค์หนึ่ง
|--
|bgcolor="#e7dcc3"| วิธีไต่เขาที่ง่ายที่สุด
|เดิน
|--
|}
 
{{กล่องข้อมูล มรดกโลก
|Imagecaption =
|Country = [[จังหวัดชิซูโอกะ]]และ[[จังหวัดยามานาชิ]] <br /> {{flagcountry|Japan}}
|Name = ฟูจิซัง สถานที่ศักดิ์สิทธิ์และแหล่งที่มาของความบันดาลใจทางศิลปะ
|Type = มรดกทางวัฒนธรรม
|Year = 2556
|Criteria = (iii) (iv)
|Link = http://whc.unesco.org/en/list/1418
}}
 
'''ภูเขาไฟฟูจิ''' (Fuji Mountain) เป็นภูเขาที่สูงที่สุดใน [[ประเทศญี่ปุ่น]] ราว 3,776 เมตร (12,388 ฟุต) ตั้งอยู่บริเวณ[[จังหวัดชิซูโอกะ]]และ[[จังหวัดยามานาชิ]] ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของ [[โตเกียว]] พื้นที่โดยรอบประกอบด้วย [[ทะเลสาบฟูจิทั้งห้า]] [[อุทยานแห่งชาติฟูจิ-ฮาโกเนะ-อิซุ]] และ[[น้ำตกชิราอิโตะ]] โดยในวันที่อากาศแจ่มใสสามารถมองเห็นจาก[[โตเกียว]]ได้ ในปัจจุบันภูเขาได้ถูกจัดโดยนักวิทยาศาสตร์อยู่ในลักษณะของภูเขาไฟที่มีโอกาสปะทุต่ำ ระเบิดครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2250 (ค.ศ. 1707) [[ยุคเอโดะ]]
เส้น 52 ⟶ 25:
 
(iv) - เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของประเภทของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนาทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
 
== ป่าอาโอกิงาฮาระ ==
{{หลัก|อาโอกิงาฮาระ}}ป่าอาโอกิงาฮาระ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของภูเขา ภูตผีปีศาจ, ยูเรและโยไคในป่าได้ถูกกล่าวถึงในนิทานพื้นบ้านและตำนาน ในศตวรรษที่ 19 ป่าอาโอกิงาฮาระเป็นหนึ่งในสถานที่หลายแห่งที่ครอบครัวยากจนมักทอดทิ้งเด็กและคนชรา<ref>{{Cite web|date=2011-09-17|title=Japan's harvest of death|url=https://www.independent.co.uk/news/world/asia/japan-s-harvest-death-5368465.html|website=The Independent|language=en}}</ref> ป่าอาโอกิงาฮาระเป็นสถานที่ฆ่าตัวตายยอดนิยมอันดับสามของโลกรองจาก[[สะพานโกลเดนเกต]]ของ[[ซานฟรานซิสโก]]และสะพานข้าม[[แม่น้ำแยงซี]]ที่[[หนานจิง]]<ref>{{Cite web|date=2012-08-06|title=Book Review: Cliffs of Despair A Journey to Suicide's Edge - Monsters and Critics|url=https://web.archive.org/web/20120806040432/http://www.monstersandcritics.com/books/nonfiction/reviews/article_1070655.php/Book_Review_Cliffs_of_Despair_A_Journey_to_Suicides_Edge|website=web.archive.org}}</ref> ตั้งแต่ทศวรรษ 1950 เป็นต้นมามีผู้เสียชีวิตในป่ารวมกว่า 500 คน ส่วนใหญ่เป็นการฆ่าตัวตาย มีคนมาฆ่าตัวตายประมาณ 30 รายต่อปี มีจำนวนสูงเกือบ 80 ศพในปี พ.ศ. 2545 การเพิ่มขึ้นของอัตราการฆ่าตัวตาย ทำให้เจ้าหน้าที่สร้างป้ายข้อความเพื่อโน้มน้าวให้บุคคลที่มีเจตนาฆ่าตัวตายกลับมาคิดทบทวนใหม่อีกครั้ง และบางครั้งข้อความเหล่านี้ก็ได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีประสิทธิภาพ<ref>{{Cite web|date=2008-03-02|title=Sign saves lives of 29 suicidal people : National : DAILY YOMIURI ONL…|url=http://archive.ph/EdNzE|website=archive.ph}}</ref>
 
นักเดินทางหลายคนทำเครื่องหมายเส้นทางการเดินทางของพวกเขาโดยทิ้งเทปพลาสติกสีไว้ ทำให้เกิดความกังวลจากเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับระบบนิเวศของป่า<ref>{{Cite web|date=2008-05-06|title=asahi.com : Intruders tangle 'suicide forest' with tape - ENGLISH|url=https://web.archive.org/web/20080506060315/http://www.asahi.com/english/Herald-asahi/TKY200805020328.html|website=web.archive.org}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==