ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮาเกียโซเฟีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GeonuchBot (คุย | ส่วนร่วม)
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 83:
}}</ref> ทำลายทั้ง[[แอมบอน (พิธีสวด)|แอมบอน]], แท่นบูชา และ[[ชิโบเรียม (สถาปัตยกรรม)|ชิโบเรียม]] การทลายส่วนใหญ่เกิดจากโดมแบนเกินที่จะรับน้ำหนักมาก<ref name="mw86"/> องค์จักรพรรดิได้มีรับสั่งบูรณะทันที โดยมอบหน้าที่ให้กับอิซิดอรุสผู้เยาว์ หลานชายของอิซฺดอร์แห่งมิเลตุส ที่ใช้วัสดุที่เบากว่าและยกโดมขึ้น "30 ฟุต"<ref name=mw86/> – ทำให้สิ่งก่อสร้างสูงถึง {{convert|55.6|m|ft|sp=us}}.<ref>{{cite web|url=http://www.emporis.com/en/wm/bu/?id=haghiasophia-istanbul-turkey|title=Haghia Sophia |location=Istanbul / |publisher=Emporis |accessdate=4 December 2011}}</ref> ที่มากไปกว่านั้น อิซิดอรุสได้เปลี่ยนประเภทของโดม โดยสร้างโครงโดมแบบ[[เพนเด็นทีฟ]] ซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 32.7 ถึง 33.5 เมตร<ref name=mw86/> ภายใต้คำสั่งของจักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1 มีการนำ[[เสาแบบคอรินเทียน]] 8 อันมาจาก[[บะอัลบิก]], เลบานอน และขนมาทางเรือมาคอนสแตนติโนเปิลในช่วงทศวรรษที่ 560<ref>{{cite web|url=http://www.stoneworld.com/articles/baalbek-keeps-its-secrets|title=Baalbek keeps its secrets|publisher=stoneworld}}</ref>
 
หลังจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 989 ซึ่งทำให้ซุ้มโดมตะวันตกพังทลาย [[จักรพรรดิเบซิลที่ 2]] ทรงเรียก[[Trdat the Architect|Trdat]] สถาปนิกชาวอาร์มีเนีย ผู้สร้างอาสนวิหารแห่ง[[อาสนวิหารอานิ|อานิ]]กับอาร์กินา เพื่อมาซ่อมแซม<ref>{{cite journal|authorlink=Christina Maranci|last=Maranci|first=Christina|jstor=3592516|title=The Architect Trdat: Building Practices and Cross-Cultural Exchange in Byzantium and Armenia|journal=[[Journal of the Society of Architectural Historians]]|volume=62|issue=3|pages=294–305|date=September 2003|doi=10.2307/3592516}}</ref> เขาจึงสร้างฝั่งตะวันตกของโบสถ์ใหม่ด้วยโครงโดม 15 อัน<ref name=mw87>Müller-Wiener (1977), p. 87.</ref> ซึ่งใช้เวลาซ่อมแซม 6 ปี ตัวโบสถ์เปิดใหม่อีกครั้งในวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 994 ในตอนนั้น ตัวโบสถ์ได้รับการบูรณะใหม่ เช่น เพิ่มเครูบสี่ตน; ภาพพระคริสต์บนโดม; ผ้าคลุมพระศพของพระคริสต์ที่จัดแสดงในวันศุกร์ และภาพพระแม่มารีย์พรหมจารีย์อุ้มพระเยซูแบบใหม่ ซึ่งนั่งอยู่ระหว่างปีเตอร์กับเปาโลอัครทูต<ref name=ma287>Mamboury (1953) p. 287</ref> บนซุ้มใหญ่มีภาพของศาสดากับพระครูของโบสถ์ด้วย<ref name=ma287/>
 
ในตอนที่คอนสแตนติโนเปิลถูกยึดในช่วง[[สงครามครูเสดครั้งที่สี่]] ตัวโบสถ์ถูกปล้นสดมและถูถูกดูหมิ่นโดยพวกครูเสด ในช่วงที่[[จักรวรรดิละติน|พวกลาตินครอบครองคอนสแตนติโนเปิล]] (ค.ศ. 1204–1261) ตัวโบสถ์กลายเป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก [[จักรพรรดิบอลด์วินที่ 1 แห่งคอนสแตนติโนเปิล]] ทรงปราบดาภิเษกเป็นจักรพรรดิในวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1204 ในฮาเกียโซเฟีย [[เอ็นริโก ดันโดโล]] (Enrico Dandolo) [[ดอเจแห่งเวนิส]]ที่ให้โจมตีและปล้นสดมตัวเมือง ถูกฝังในโบสถ์ และตัวสุสานเดิมถูกพวกออตโตมันทำลายในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงจากโบสถ์เป็นมัสยิด<ref>{{cite journal|last=Gallo|first=Rudolfo|title=La tomba di Enrico Dandolo in Santa Sofia a Constantinople|journal=Rivista Mensile della Citta di Venezia|year=1927|volume=6|pages=270–83}}</ref>
 
=== มัสยิด (ค.ศ. 1453–1935) ===