ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารออมสิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43:
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:BTS Kasetsart University - KU exit with GSB bank.jpg|thumb|left|ธนาคารออมสิน สาขา[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]]]
ธนาคารออมสิน กำเนิดขึ้นโดย'''เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว''' ได้ทรงริเริ่มนำกิจการด้านการออมสินมาใช้เป็นครั้งแรกดำรงพระราชอิสริยยศ เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช [[พ.ศ.เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ 2450]]สยามมกุฎราชกุมาร โดยได้ทรงทดลองตั้งธนาคารรับฝากเงินขึ้นเรียกว่า "แบงก์ลีฟอเทีย"[[พระตำหนักสวนจิตรลดา]] (ในบริเวณ[[เดิม) ซึ่งต่อมาคือวังปารุสกวัน]]) สำหรับด้วยพระราชประสงค์ให้มหาดเล็ก และข้าราชบริพารของพระองค์ ได้เรียนรู้วิธีการดำเนินงานของธนาคาร และส่งเสริมปลูกฝังนิสัยรักการออม ส่วนมูลเหตุอันเป็นที่มาของพระราชทานชื่อธนาคารนี้ว่า "แบงก์ลีฟอเทีย"ฟอเทีย” นั้น นำอันมีที่มาจากชื่อย่อของผู้เป็นดำรงตำแหน่งกรรมการธนาคาร ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 3 ท่าน อันได้แก่
 
ลี๑. “ลี” แปลว่า โต หรือใหญ่ ได้แก่ '''พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว''' ที่ขณะทรงนั้นดำรงพระราชอิสริยยศเป็น[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว| สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชโอรสาธิราชฯ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ]]สยามมกุฎราชกุมาร ทรงดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ
 
๒. “ฟอ” มาจากคำว่า เฟื้อ เป็นนามเดิมของเจ้าพระยารามราฆพ (ม.ล.เฟื้อ พึ่งบุญ ณ อยุธยา) ผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ
[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว|สยามมกุฎราชกุมาร]] ซึ่งทรงเป็นประธานกรรมการหรือ เจ้าของแบงค์
 
๓. “เทีย” มาจากคำว่า เทียบ เป็นนามเดิมของพระยาคทาธรบดี (เทียบ อัศวรักษ์) ผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการ
ฟอ ได้แก่ เฟื้อ หม่อมหลวง เฟื้อ พึ่งบุญ - พลเอก[[เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)|เจ้าพระยารามราฆพ]] เป็นกรรมการผู้จัดการ.
 
การทดลองตั้งธนาคารลีฟอเทีย
เทีย ได้แก่ เทียบ เทียบ อัศวรักษ์ - พระยาคธาธรบดี เป็นกรรมการ
 
เป็นเหตุให้ทรงมีโอกาสศึกษานิสัยการออมของคนไทย ที่ยังมีข้อติดขัดบกพร่องอยู่หลายประการ ก่อให้เกิดพระบรมราชกุศโลบายจะให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการออม นับเป็นปฐมบทของคลังออมสินในเวลาต่อมา
ในปี [[พ.ศ. 2456]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติคลังออมสินขึ้น และประกาศใช้ตั้งแต่วันที่ [[1 เมษายน]] โดยให้เรียกว่า "คลังออมสิน" ขึ้นตรงต่อ[[กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ]]
 
ครั้นเมื่อเสด็จดำรงสิริราชสมบัติแล้ว ทรงพระราชปรารภถึงการรักษาทรัพย์สมบัติ ซึ่งประชาชนอุตสาหะประกอบการทำมาค้าขาย มีกำไรออมไว้เป็นทุนรอนได้แล้ว แต่การรักษาให้ปราศจากอันตรายยังเป็นการลำบาก เพราะไร้ที่ฝากฝังอันมั่นคง ส่วนการที่ประชาชนออมสินไว้เพื่อประโยชน์ยืนยาวข้างหน้า ไม่จับจ่ายเพื่อความเพลินใจชั่วขณะนั้น เป็นสิ่งควรอุดหนุนอย่างยิ่ง
 
ทรงพระราชดำริว่า การรักษาสินซึ่งออมไว้เช่นนี้ มีทางที่จะทรงพระมหากรุณาพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์ได้ ด้วยการตั้งคลังออมสิน เพื่อประโยชน์ในการรับรักษาเงินที่ประชาชนจะนำมาฝากเป็นรายย่อย และรับภาระจัดให้เงินนั้นเกิดผลแก่ผู้ฝากตามสมควร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา “พระราชบัญญัติคลังออมสิน พุทธศักราช ๒๔๕๖” ขึ้น โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๔๕๖ เป็นต้นไป
 
ต่อมาในรัชสมัย '''พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว''' มีพระราชดำริจะขยายกิจการคลังออมสินให้กว้างขวางขึ้น จึงโอนกิจการคลังออมสิน จากกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ไปสังกัด[[กรมไปรษณีย์โทรเลข]] (ปัจจุบันเป็น [[กสทช.|สำนักงาน กสทช.]] แต่ก่อนจะแปรสภาพ ส่วนหนึ่งได้กลายเป็นวิวัฒนาการให้กับ [[บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด]] และ [[บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน)]]) กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม (ปัจจุบันแยกเป็นคือ[[กระทรวงพาณิชย์]] และ[[กระทรวงคมนาคม]]) มีสถานะเป็นแผนกคลังออมสินในกองบัญชี เมื่อปี [[พ.ศ. 2472]] เป็นผลให้ราษฎรสามารถฝากและถอนเงิน ณ ที่ทำการไปรษณีย์ได้ เช่นเดียวกับบริการออมสิน ของกรมไปรษณีย์ประเทศญี่ปุ่น และกรมไปรษณีย์ประเทศเยอรมนี
เส้น 73 ⟶ 77:
 
== วันออมสิน ==
''วันออมสิน'' ตรงกับวันที่ 1 เมษายนของทุกปี กำหนดขึ้นเพื่อระลึกถึงการตั้งธนาคารออมสินโดยจัดกิจกรรมเป็นประจำทุกปีเพื่อเป็นการรักนิสัยการออมเงินสำหรับเด็ก เยาวชนและประชาชนโดยทั่วไป โดยธนาคารออมสินทั่วประเทศได้จัดให้มีการรับฝากเงิน และมอบของที่ระลึก เป็นประจำทุกปี<ref>[http://scoop.mthai.com/specialdays/5032.html วันออมสิน] จาก[[เอ็มไทย]]</ref>
 
วันที่ ๑ เมษายน เป็นวันออมสิน เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ได้พระราชทานกำเนิดคลังออมสิน (ต่อมาคือ “ธนาคารออมสิน” ตามพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ.๒๔๘๙) เพื่อประโยชน์ในการเก็บรักษาทรัพย์สิน และส่งเสริมการออมของประชาชน ซึ่งเอื้ออำนวยต่อการพัฒนาประเทศในทุกด้านตราบถึงปัจจุบัน
 
[[ไฟล์:Bank ppb.jpg|thumb|150px|right|โครงการธนาคารประชาชน]]