ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟลิปฟล็อป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ภาพ Transistor_Bistable_interactive_animated_EN.svg ด้วย Transistor_Bistable_interactive_animated-en.svg จากวิกิพีเดียคอมมอนส์
Aefgh3962 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการจัดรูปแบบและการใช้ภาษา
บรรทัด 2:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Transistor Bistable interactive animated-en.svg|thumb|''R1, R2'' = 1 kΩ, ''R3, R4'' = 10 kΩ]]
'''ฟลิปฟล็อป''' ({{lang-en|flip-flop}}) หรือ '''แลตช์''' ({{lang-en|latch}}) เป็น[[วงจรอิเล็กทรอนิกส์]]ที่มี Output เอาต์พุตคงที่อยู่ 2 สถานะ คือ <math> Q </math> และ <math>\overline{Q}</math> ซึ่งมีค่า ทาง[[ลอจิกตรรกศาสตร์]]ตรงข้ามกัน เช่น ถ้า <math>Q</math> = 1,<math>\overline{Q}</math> = 0 ฟลิปฟล็อปยังเป็นอุปกรณ์ทางลอจิกตรรกศาสตร์ซึ่งมีหน่วยความจำขนาดหนึ่ง[[บิต]] ซึ่งบางครั้งอาจเรียกว่า เป็นอุปกรณ์ที่เสถียรภาพแบบสองสถานะ นั่นคือ ฟลิปฟล็อป หนึ่งตัวสามารถใช้เก็บค่า 0 หรือ 1 ได้ ซึ่งฟลิปฟล็อปจะทำงานเมื่อสัญญาณนาฬิกามีการเปลี่ยนแปลงค่า สำหรับช่วงเวลาอื่นๆอื่น ๆ ฟลิปฟล็อปจะคงค่าหรือจำค่าเดิมไว้ได้ ดังนั้น ฟลิปฟล็อป จึงเป็นส่วนประกอบพื้นฐานในการสร้าง[[วงจรนับ|ตัวนับ]] [[เรจิสเตอร์]] และ[[หน่วยความจำ]] เพื่อเก็บข้อมูลในรูปของ[[เลขฐานสอง]] ซึ่งในปัจจุบันเราใช้ ฟลิปฟล็อป กันอย่างกว้างขวางในอุปกรณ์[[ดิจิตอล]] เหมือนเป็นชิ้นส่วนความจำ คุณลักษณะอีกอย่างหนึ่งของฟลิปฟล็อปที่แตกต่างกับ gateเกต คือ สามารถรักษาหรือเปลี่ยนแปลงสถานะของเอาต์พุตได้โดยใช้สัญญาณอินพุต
'''พัลส์นาฬิกา''' (clock pulse''''') เป็นวิธีการที่ทำให้ฟลิปฟล็อปแต่ละตัวสามารถเปลี่ยนสภาวะไปพร้อมๆพร้อม ๆ กันได้โดยต้องมีการให้สัญญาณการเปลี่ยนสถาวะสภาวะ ซึ่งสัญญาณนี้เรียกว่า Clock pulse(CK)ส่วนนี้เองที่ทำให้ไม่ต้องใช้ฟลิปฟล็อปต่อร่วมกันหลายๆหลาย ๆ อัน
 
== ประเภทของฟลิปฟล็อป ==
ฟลิปฟล็อป ประกอบด้วย 4 ประเภทคือ ดีฟลิปฟล็อป ทีฟลิปฟล็อป เจเคฟลิปฟล็อป และเอสอาร์ฟลิปฟล็อป
 
=== ดีฟลิปฟล็อป ===
:''ดูบทความหลักได้ใน [[ดีฟลิปฟล็อป]]''
'''ดีฟลิปฟล็อป''' (D flip-flop) จะมีการทำงานเมื่อถูกกระตุ้นด้วยสัญญาณนาฬิกาหรือ clock (CLK) ซึ่งสัญญาณนาฬิกาจะเปลี่ยนแปลงจาก 0>1>0>1>... เช่นนี้เรื่อยไป การกระตุ้นด้วยสัญญาณนาฬิกามีสองแบบคือ
บรรทัด 25:
|}
 
[[ไฟล์:T-Type Flip-flop.svg|thumb|T ทีฟลิปฟล็อป]]
 
=== ทีฟลิปฟล็อป ===
:''ดูบทความหลักได้ใน [[ทีฟลิปฟล็อป]]''
:'''ทีฟลิปฟล็อป''' หรือ'''ท๊อกเกิลฟลิปฟล็อปท็อกเกิลฟลิปฟล็อป''' (T flip-flop หรือ Toggle flip-flop) จะมีอินพุตสองตัว คือ T (toggle) และ C (clock) อินพุต T ใช้เพื่อ toggle หรือกลับค่า output เอาต์พุตของฟลิปฟล็อป
* T มีค่า 1 ค่าของ Q จะถูก toggle นั่นคือกลับค่าจาก 0 เป็น 1 หรือ 1 เป็น 0
* T มีค่า 0 ค่าของ Q จะไม่เปลี่ยนแปลง
บรรทัด 43:
|}
 
=== เจเคฟลิปฟล็อป ===
:''ดูบทความหลักได้ใน [[เจเคฟลิปฟล็อป]]''
'''เจเคฟลิปฟล็อป''' (JK flip-flop) จะมีอินพุตสามตัว คือ J, K และ C (clock)
บรรทัด 51:
* ถ้า J และ K เป็น 1 ทั้งคู่ ฟลิปฟล็อปจะกลับค่าเดิม
 
[[ไฟล์:JK FF impulse diagram.png|thumb|[[Timing diagram]] ของ JK เจเคฟลิปฟล็อป]]
 
สถานะของ JKฟลิปฟล็อปขณะที่ฟลิปฟล็อปถูกกระตุ้น
บรรทัด 68:
|}
 
== = อาร์เอสฟลิปฟล็อป ===
'''อาร์เอสฟลิปฟล็อป''' (R-S flip-flop) เป็นฟลิปฟล็อปสมมติ เพราะอินพุตแบบอาร์เอสมักเป็น[[แลตช์ (อิเล็กทรอนิกส์)|แลตซ์]]ไม่ใช่ฟลิปฟล็อป ซึ่งจะมีอินพุตสามตัว คือ S (set), R (reset) และ C (clock)
* S ใช้ในการ set ค่าของฟลิปฟล็อป คือทำให้ฟลิปฟล็อปมีค่าเป็น 1 ดังนั้นถ้า S=1 และ R=0 แล้ว Q จะเท่ากับ 1
บรรทัด 88:
|-
|| 1 || 1 || <math>0</math> || <math> 0 </math> || ไม่ใช้งาน (race condition)
|}
 
== สรุป ==
ฟลิปฟล็อป ประกอบด้วย 4 ประเภท คือ D, T, JK, และ R-S การอธิบายนั้นก็จะเรียงตามความง่ายในการใช้งาน โดยเรียงจากง่ายไปยาก แต่ในการสร้างฟลิปฟล็อปนั้น เราจะเริ่มต้นสร้างจาก R-S ก่อน แล้วจึงนำ R-S ไปสร้างฟลิปฟล็อปแบบอื่น
 
== ดูเพิ่ม ==