ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Muanchon (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับส่วนราชการ พ.ศ.2527
Muanchon (คุย | ส่วนร่วม)
ตัดยุค 1 เดิม ให้เหลือเพียง 3 ยุค
บรรทัด 21:
== ประวัติ ==
 
=== ยุคที่ 1 โรงเรียนฝึกหัดวิทยาลัยครูประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาเชียงราย ===
 
ในวันที่ 12 กันยายน ปี พุทธศักราช 2512 ทางจังหวัดเชียงรายได้เสนอเรื่องการจัดตั้ง "โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาเชียงราย" เป็นครั้งแรก รองลำดับถัดมาเป็นอันดับ 3 ของภาคเหนือตอนบน ต่อจากโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ และโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาจังหวัดอุตรดิตถ์ ต่ออธิบดีกรมการฝึกหัดครู โดยเสนอใช้พื้นที่บริเวณอ่างเก็บน้ำหนองบัว ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เป็นสถานที่ตั้งสำหรับการก่อสร้างโรงเรียนฝึกหัดครู ซึ่งในครั้งแรกได้ฝากนักศึกษาวิชาชีพครูรุ่นแรกของจังหวัดเชียงราย ไปเรียนรวมกับนักศึกษาวิชาชีพครูของวิทยาลัยครูเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ และวิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาเหมือนกัน เป็นระยะเวลา 3 ปี เพราะว่า ยังขาดความพร้อมในเรื่องของอาคารและสถานที่ในการเรียนการสอน
 
ในวันที่ 15 มิถุนายน ปี พุทธศักราช 2515 นายสาโรช บัวศรี อธิบดีกรมการฝึกหัดครูขณะนั้น ได้มีหนังสือแจ้งไปถึงท่านผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ว่ากรมการฝึกหัดครู เห็นสมควรให้จัดตั้ง
สถานที่เรียนฝึกหัดครู ตามเสนอและรออนุมัติงบประมาณประจำปี พุทธศักราช 2516
 
=== ยุคที่ 2 วิทยาลัยครูเชียงราย ===
 
ในวันที่ 29 กันยายน ปีพุทธศักราช 2516 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้สถาปนา "วิทยาลัยครูเชียงราย" ขึ้น จากเดิมเคยเป็น "โรงเรียนฝึกหัดครูระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาเชียงราย" เมื่อปี พุทธศักราช 2512 เพื่อทำหน้าที่ผลิตครูสนองความต้องการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนครูในขณะนั้น โดยหน่วยงานผลิตครูคณะครุศาสตร์ในระยะแรก มีสถานภาพเป็น ภาควิชาการศึกษา ดำเนินการผลิตครู ในระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ตั้งแต่ ป.กศ.ต้น จนถึง ป.กศ.สูง โดยรับนักศึกษาที่เรียนจบจากระดับชั้น ม.ศ.3 , ม.ศ.5 จากโรงเรียนมัธยมขยายโอกาสในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน ลำปาง และพื้นที่บางส่วนของจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดแพร่ ตามลำดับ รวมผู้ที่สอบไล่ได้ชุดครูประโยคพิเศษประถม (ป.ป.) และสอบไล่ชุดครูประโยคพิเศษมัธยม (พ.ม.) มาเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาขั้นสูง และในปีเดียวกัน ได้แต่งตั้งให้นายบัณฑิต วงษ์แก้ว จากวิทยาลัยครูมหาสารคาม มาดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการวิทยาลัยครูเชียงราย เป็นคนแรกที่ได้เปิดหลักสูตรอบรมเพื่อการศึกษาวิชาชีพครูระยะสั้นในดือนเมษายน (ปิดเทอมภาคฤดูร้อน) ให้แก่ข้าราชการครู (อ.ศ.ร.) ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และพื้นที่ใกล้เคียง ประมาณ 1,500 คน เป็นครั้งแรก
เส้น 59 ⟶ 52:
ซึ่งได้เป็นกลุ่มวิทยาลัยครูภาคเหนือตอนบนได้พัฒนาเป็น"สหวิทยาลัยล้านนา"ตามข้อบังคับของสภาการฝึกหัดครูว่าด้วยกลุ่มวิทยาลัยครู พุทธศักราช 2528 และในสมัยนั้น วิทยาลัยครูลำปางได้รับเลือกให้เป็นที่ตั้งสำนักงานคณะกรรมการสหวิทยาลัยล้านนา รวมทั้งวิทยาลัยครูเชียงราย ก็ได้รับเป็นคณะกรรมการตัวแทนกลุ่มครูเชียงราย พะเยา และน่าน อีกด้วย
 
=== ยุคที่ 32 สถาบันราชภัฏเชียงราย ===
 
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2535 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อสถาบันว่า"สถาบันราชภัฏ" จากวิทยาลัยครูเดิมเพื่อให้สอดคล้อง
เส้น 72 ⟶ 65:
ปีพุทธศักราช 2544 ได้เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู (ป.วค.) เพิ่มขึ้นอีก 1 หลักสูตร เพื่อรองรับนักศึกษาที่จบปริญญาสาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ครู แล้วต้องการเป็นครู
 
=== ยุคที่ 43 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ในปัจจุบัน ===
 
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมลงพระปรมาภิไธย ใน "พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547" เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2547