ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกย์ไอคอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ซวากสท์ ชาเกิล (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
== ประวัติศาสตร์ ==
[[ไฟล์:Sodoma_003.jpg|left|thumb|[[เซบาสเตียน|นักบุญเซบาสเตียน]] เกย์ไอคอนคนแรกในประวัติศาสตร์]]
เกย์ไอคอนคนแรกในประวัติศาสตร์น่าจะเป็น[[เซบาสเตียน]]<ref name="QUEER">{{cite web|url=http://www.glbtq.com/arts/subjects_st_sebastian.html|title=Subjects of the Visual Arts: St. Sebastian|work=[[glbtq.com]]|accessdate=August 1, 2007|year=2002|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20070901002221/http://www.glbtq.com/arts/subjects_st_sebastian.html|archivedate=September 1, 2007}}</ref>[[นักบุญ]][[มรณสักขีในศาสนาคริสต์]] การผสมผสานของรูปร่างที่แข็งแรง ไม่สวมเสื้อ มีลูกศรปัก และท่าทางเจ็บปวดได้สร้างความน่าสนใจให้กับทั้ง[[รักร่วมเพศ|คนรักรวมเพศ]]และ[[รักต่างเพศ]]มานับศตวรรษและเริ่มลัทธิเกย์ในศตวรรษที่ 19<ref name="QUEER" /> ผู้สื่อข่าวริชาร์ด เอ เคย์เขียนไว้ว่า "ชายเกย์ในยุคปัจจุบันเห็นเซบาสเตียนว่าเป็นโฆษณาความปรารถนาของโฮโมเซ็กชวลและแม่แบบของของเกย์ที่ทรมานเพราะต้องคอยหลบซ่อนอัตลักษณ์ทางเพศของตน"<ref name="QUEER2">{{cite journal|last=Kaye|first=Richard A.|title=Losing His Religion: Saint Sebastian as Contemporary Gay Martyr|journal=Outlooks: Lesbian and Gay Sexualities and Visual Cultures.'' Peter Horne and Reina Lewis, eds.''|location=New York|publisher=Routledge|year=1996|volume=86|page=105|doi=10.4324/9780203432433_chapter_five}}</ref> นักเขียน[[ออสการ์ ไวลด์]] ยังเคยใช้ชื่อเซบาสเตียนเมื่อครั้งที่ถูกเนรเทศหลังออกจากคุก ออสการ์นับว่าเป็นผู้ที่เปิดเผยอัตลักษณ์ทางเพศเป็นอย่างมากในศตวรรษที่ 19 และตังเขาเองก็นับได้ว่าเป็นเกย์ไอคอนเช่นกัน<ref>[http://business.timesonline.co.uk/tol/business/markets/europe/article1289533.ece Vatican comes out of the closet and embraces Oscar]; Richard Owen, [[The Times]]; January 5, 2007. Retrieved October 14, 2007.</ref>
 
[[มารี อ็องตัวแน็ต]] นับได้ว่าเป็นเลสเบี้ยนไอคอน ลือกันว่านางมีความสัมพันธ์กับผู้หญิงออกมาเป็นแบบพับลามกที่จัดทำโดยกลุ่มต่อต้านราชวงศ์ช่วงก่อน[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]<ref>Hunt, Lynn. “The Many Bodies of Marie Antoinette: Political Pornography and the Problem of the Feminine in the French Revolution.” In The French Revolution: Recent Debates and New Controversies 2nd edition, ed. Gary Kates, 201-218. New York and London: Routledge, 1998, pp 201-218.</ref> ใน[[สมัยวิกตอเรีย]]ผู้เขียนชีวประวัติที่เชื่อใน[[ระบอบเก่า]]ออกมาปฏิเสธข่าวลือเหล่านั้นแต่ในขณะเดียวกันก็อ้างว่าความสัมพันธ์ของมารีและเจ้าหญิงแห่งลอมบาลล์เป็นไปแบบพี่น้อง ในชีวประวัติที่ออกในปี ค.ศ. 1858 กล่าวว่า"เป็นรักที่ยิ่งใหญ่และหายากที่พรหมลิขิตบันดาลให้อยู่ร่วมกันแม้ตายจาก"<ref name="afraser">{{cite book|last=Fraser|first=Antonia|authorlink=Antonia Fraser|title=Marie Antoinette: The Journey|publisher=Anchor|year=2001|location=New York|page=449|isbn=0-385-48949-8}}</ref>