ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันสตรีสากล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{Infobox holiday
| image = Frauentag 1914 Heraus mit dem Frauenwahlrecht.jpg
| caption =
| caption = โปสเตอร์ภาษาเยอรมันสำหรับวันสตรีสากล 8 มีนาคม ค.ศ. 1914
| holiday_name = วันสตรีสากล
| frequency = Annualรายปี
| observedby = Worldwideทั่วโลก
| scheduling = Same day each year
| date = 8 มีนาคม
| mdydmy = noyes
| type = Internationalสากล
| significance = {{plainlist|
* วันสร้างการรับรู้ของพลเมือง
* Civil awareness day
* วันสตรีและเด็กหญิง
* Women and girls day
* วันต่อต้าน[[Sexism|การเหยียดเพศ]]
* [[Sexism|Anti-sexism]] day
* วันต่อต้านการเลือกปฏิบัติ
* Anti-Discrimination Day
}}
| relatedto = {{plainlist|
* [[International Men's Day|วันบุรุษสากล]]
* [[การปฏิวัติอิหร่าน]]
* [[Russian Revolution|การปฏิวัติรัสเซีย]]
* [[Children's Day|วันเด็ก]]
* [[International Workers' Day|วันบุรุษแรงงานสากล]]
* [[วันแรงงานสากล]]
}}
}}
'''วันสตรีสากล'''เป็นการเฉลิมฉลองในวันที่ 8 มีนาคมของทุกปีทั่วโลก<ref name="UN">{{cite web|url=https://www.un.org/womenwatch/feature/iwd/history.html | title=UN WomenWatch: International Women's Day – | publisher=UN.org | access-date=February 21, 2013}}</ref> และเป็นจุดสำคัญในการเคลื่อนไหวเพื่อ[[สิทธิสตรี]]
 
หลัง[[Socialist Party of America|พรรคสังคมนิยมอเมริกัน]]จัดงานวันสตรีขึ้นใน[[นิวยอร์กซิตี]]เมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 1909 ผู้แทนชาวเยอรมัน [[Clara Zetkin|คลารา เซตคิน]], [[Käte Duncker|เคท ดันเกอร์]], [[Paula Thiede|พอลา เธียด]] และคนอื่น ๆ ได้เสนอแก่[[International Socialist Women's Conferences|งานสัมมนาสตรีสังคมนิยมสากล ปี 1910]] ให้มี "วันสตรีเป็นพิเศษ" จัดขึ้นในทุก ๆ ปี<ref name="ICSW">{{Cite web|title="International Socialist Congress, 1910; Second International Conference of Socialist Women|url=https://archive.org/details/InternationalSocialistCongress1910SecondInternationalConferenceOf/page/n21/mode/2up|page=21|access-date=March 7, 2020}}</ref> ภายหลังสตรีจำนวนมากทุกข์ทนภายใต้การปกครองของ[[Soviet Russia|โซเวียตรัสเซีย]]ในปี 1917 วันที่ 8 มีนาคม ได้กลายเป็น[[วันหยุด]]ทางการของที่นั่น<ref>{{cite news |last1=Cheah |first1=S. G. |title=Women In Red: The Surprising History Of International Women's Day |url=https://www.eviemagazine.com/post/women-in-red-the-surprising-history-of-international-womens-day/ |access-date=March 9, 2020 |work=Evie Magazine |date=March 8, 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200309092231/https://www.eviemagazine.com/post/women-in-red-the-surprising-history-of-international-womens-day/ |archive-date=March 9, 2020 |quote=statement made by Vladimir Lenin, who presided over the first official March 8th celebration of this day in Russia: “For under capitalism the female half of the human race is doubly oppressed. The working woman and the peasant woman are oppressed by capital [...] “The second and most important step is the abolition of the private ownership of land and the factories. This and this alone opens up the way towards complete and actual emancipation of woman}}</ref> นับแต่นั้นมา วันสตรีได้เป็นที่เฉลิมฉลองในบรรดา[[socialist movement|กลุ่มเรียกร้องสังคมนิยม]]และ[[ประเทศคอมมิวนิสต์]]จนกระทั่งในราวปี 1967 ที่ซึ่งกลุ่มเรียกร้องสิทธิสตรีได้เริ่มนำวันนี้มาใช้ [[สหประชาชาติ]]ได้เริ่มฉลองวันสตรีสากลครั้งแรกในปี 1977<ref>{{Cite web|url=http://www.un.org/en/observances/womens-day/background|title=International Women's Day, 8 March|website=www.un.org|language=EN|access-date=March 7, 2020}}</ref>
'''วันสตรีสากล''' ({{lang-en|International Women's Day}}) เดิมเรียก '''วันสตรีแรงงานสากล''' ({{lang-en|International Working Women's Day}}) มีการเฉลิมฉลองในวันที่ 8 มีนาคมของทุกปี<ref name = "UN">{{cite web|url=http://www.un.org/womenwatch/feature/iwd/history.html | title=UN WomenWatch: International Women's Day – History | publisher=UN.org | accessdate=2013-02-21}}</ref> ในแต่ละภูมิภาคความสนใจของการเฉลิมฉลองมีตั้งแต่การเฉลิมฉลองความนับถือ ความซาบซึ้งและความรักต่อหญิงสำหรับความสำเร็จทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมของหญิงทั่วไป เริ่มแรกเป็นงานการเมือง[[สังคมนิยม]] แล้ววันหยุดนี้ก็กลืนวัฒนธรรมของหลายประเทศซึ่งส่วนใหญ่ในทวีปยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน[[กลุ่มตะวันออก]]<ref>Rochelle Goldberg Ruthchild, “From West to East: International Women’s Day, the First Decade”, ''Aspasia: The International Yearbook of Central, Eastern, and Southeastern European Women's and Gender History'', vol. 6 (2012): 1-24. </ref> ในบางภูมิภาค วันดังกล่าวเสียรสทางการเมือง และกลายเป็นเพียงโอกาสสำหรับบุคคลในการแสดงความรักแก่หญิงในวิธีซึ่งคล้ายการผสมระหว่าง[[วันแม่]]และ[[วันวาเลนไทน์]] ทว่า ในบางภูมิภาค แก่นการเมืองและสิทธิมนุษยชนที่สหประชาชาติกำหนดยังมั่นคงอยู่ และความตระหนักทางการเมืองและสังคมของการต่อสู้ของหญิงทั่วโลกมีการเผยแพร่และพิจารณาด้วยความหวัง บางคนเฉลิมฉลองวันดังกล่าวโดยการสวมริบบิ้นสีม่วง
 
== ประวัติ ==
ประวัติความเป็นมา ของ "วันสตรีสากล" เกิดขึ้นจากกรรมกรหญิงในโรงงานทอผ้า รัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกาได้พากันลุกฮือประท้วงให้นายจ้างเพิ่มค่าจ้าง และเรียกร้องสิทธิของพวกเธอ แต่สุดท้ายกลับมีผู้หญิงถึง 119 คนต้องเสียชีวิตจากเหตุการณ์นี้ ด้วยการที่มีคนลอบวางเพลิงเผาโรงงานที่พวกเธอนั่งชุมนุมกันอยู่ โดยเหตุการณ์ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1857 (พ.ศ. 2400)
 
จากนั้นในปี ค.ศ.1907 (พ.ศ. 2450) กรรมกรหญิงในโรงงานทอผ้าที่เมืองชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกาทนไม่ไหวต่อการเอารัด เอาเปรียบ กดขี่ ทารุณ ของนายจ้างที่ใช้งานพวกเธอเยี่ยงทาส เนื่องจากกรรมกรหญิงเหล่านี้ต้องทำงานหนักถึงวันละ 16-17 ชั่วโมง โดยไม่มีวันหยุด ไม่มีประกันการใช้แรงงานใดๆ เป็นผลให้เกิดความเจ็บป่วยล้มตายตามมาในระยะเวลาอันรวดเร็ว แต่กลับได้รับค่าแรงเพียงน้อยนิด และหากตั้งครรภ์ก็ถูกไล่ออก
 
ความอัดอั้นตันใจจึงทำให้[[คลารา เซทคิน]] นักการเมืองสตรี[[สังคมนิยม]]ชาวเยอรมัน ตัดสินใจปลุกระดมเหล่ากรรมกรสตรีด้วยการนัดหยุดงานในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ.1907 พร้อมกับเรียกร้องให้นายจ้างลดเวลาการทำงานลงเหลือวันละ 8 ชั่วโมง อีกทั้งให้ปรับปรุงสวัสดิการทุกอย่าง และให้สตรีมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งด้วย
 
อย่างไรก็ตาม แม้การเรียกร้องครั้งนี้ จะไม่ประสบผลสำเร็จ เนื่องจากมีแรงงานหญิงหลายร้อยคนถูกจับกุม แต่ก็ทำให้สตรีทั่วโลกสนับสนุนการกระทำของคลารา เซทคิน และเป็นการจุดประกายให้สตรีทั่วโลกเริ่มตระหนักถึงสิทธิของตัวเองมากขึ้น
 
ต่อมาในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1908 (พ.ศ. 2451) มีแรงงานหญิงกว่า 15,000 คน ร่วมเดินขบวนทั่วเมืองนิวยอร์ก เรียกร้องให้ยุติการใช้แรงงานเด็ก โดยมีคำขวัญการรณรงค์ว่า "ขนมปังกับดอกกุหลาบ" ซึ่งหมายถึงการได้รับอาหารที่พอเพียงพร้อมๆ กับคุณภาพชีวิตที่ดีนั่นเอง
 
จนกระทั่งในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1910 (พ.ศ. 2453) ความพยายามของกรรมกรสตรีกลุ่มนี้ก็ประสบผลสำเร็จ เมื่อมีตัวแทนสตรีจาก 17 ประเทศ เข้าร่วมประชุมสมัชชาสตรีสังคมนิยมครั้งที่ 2 ณ เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก โดยในที่ประชุมได้ประกาศรับรองข้อเรียกร้องของบรรดากรรมกรสตรี ในระบบสาม 8 คือ ยอมให้ลดเวลาทำงานเหลือวันละ 8 ชั่วโมง ให้เวลาศึกษาหาความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของตัวเองอีก 8 ชั่วโมง และอีก 8 ชั่วโมงเป็นเวลาพักผ่อน พร้อมกันนี้ยังได้ปรับค่าแรงของแรงงานหญิงให้เท่าเทียมกับแรงงานชาย และยังมีการคุ้มครองสวัสดิการสตรีและแรงงานเด็กอีกด้วย
 
ทั้งนี้ยังได้รับรองข้อเสนอของคลารา เซทคิน ด้วยการกำหนดให้วันที่ 8 มีนาคม ของทุกปีเป็น วันสตรีสากล
 
== อ้างอิง ==