ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ศรีคำ001 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{ผู้นำประเทศ
| honorific-prefix = [[ศาสตราจารย์พิเศษ]] [[พลตรี]] [[หม่อมราชวงศ์]]
| name = คึกฤทธิ์ ปราโมช
| honorific-suffix =<br>[[ปฐมจุลจอมเกล้า|ป.จ.]], [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก|ม.ป.ช.]], [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย|ม.ว.ม.]], [[เหรียญรัตนาภรณ์|ภ.ป.ร.1]]
| image = Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
| caption = หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ในปี พ.ศ. 2517
| order = [[นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย|นายกรัฐมนตรีไทย]] คนที่ 13
| monarch = [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]
บรรทัด 29:
| term_start4 = พ.ศ. 2488
| term_end4 = พ.ศ. 2489
| blank1 = พระราชทานเพลิง
 
| order5 = หัวหน้า[[พรรคกิจสังคม]]
| term_start5 = 20 สิงหาคม พ.ศ. 2525
บรรทัด 47:
| signature = Thai-PM-kukrit_signature.png
| signaturesize = 150px
| data1 = 23 ธันวาคม พ.ศ. 2538<br>[[เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส]] [[กรุงเทพมหานคร]] [[ประเทศไทย]]<ref name="พระราชทานเพลิง">ราชกิจจานุเบกษา,[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/004/132.PDF ข่าวในพระราชสำนัก] เล่ม 113 ตอนที่ 4 ง หน้า 137 11 มกราคม พ.ศ. 2539</ref>
| footnotes =
| rank = [[ไฟล์:RTA OF-7 (Major General).svg|15px]] พลตรี<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2531/D/175/2.PDF</ref><br> [[ไฟล์:นายกองใหญ่.jpg|15px]] นายกองใหญ่<ref name="อาสาคึกฤทธิ์">http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/D/056/845.PDF</ref>
| branch = [[กองทัพบกไทย]]
| serviceyears = 2486-2538
}}
 
ศาสตราจารย์พิเศษ พลตรี '''หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช''' (20 เมษายน พ.ศ. 2454 – 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และ[[ศิลปินแห่งชาติ]] เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ [[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] อดีตนายกรัฐมนตรี
 
ปลายปี พ.ศ. 2551 [[กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)|กระทรวงวัฒนธรรม]]เสนอชื่อหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์เป็นบุคคลสำคัญของโลกต่อ[[ยูเนสโก]]<ref>[http://www.siamrath.co.th/UIFont/NewsDetail.aspx?cid=70&nid=28684 วธ.เสนอยูเนสโก"คึกฤทธิ์"บุคคลดีเด่นโลกปี54], [[สยามรัฐออนไลน์]], 16 ธ.ค. 2551</ref> โดยมีทั้งเสียงสนับสนุน<ref>[http://www.siamrath.co.th/Politic.asp?ReviewID=176529 บทบรรณาธิการ / มหาคุรุ - คึกฤทธิ์ ], [[หนังสือพิมพ์สยามรัฐ]]</ref><ref>กองบรรณาธิการ, [http://www.thaipost.net/index.asp?bk=sunday&iDate=4/Jan/2552&news_id=167504&cat_id=110804 คึกฤทธิ์คนสำคัญของโลก], คอลัมน์ บังอบายเบิกฟ้า, [[หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์]], 4 ม.ค. 2552</ref><ref>ชนิตร ภู่กาญจน์, [http://www.naewna.com/news.asp?ID=140050 เบื้องหน้า-เบื้องหลัง เสนอชื่อ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นบุคคลสำคัญของโลก (สกู๊ปพิเศษ)], [[หนังสือพิมพ์แนวหน้า]], 25 ธ.ค. 2551</ref> และคัดค้าน<ref>[http://prachatai.com/05web/th/home/15165 ‘ส.ศิวรักษ์’ ค้านเสนอ ‘ยูเนสโก’ ให้ ‘คึกฤทธิ์’ เป็นบุคคลสำคัญของโลก], [[หนังสือพิมพ์ประชาไท]], 9 ม.ค. 2552</ref> ต่อมาในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ยูเนสโกได้ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์เป็นบุคคลสำคัญของโลก ใน 4 สาขา ได้แก่ การศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ และสื่อสารมวลชน ในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาล พ.ศ. 2554 โดยได้รับการประกาศพร้อมกันกับ[[เอื้อ สุนทรสนาน]] ซึ่งได้รับในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาล พ.ศ. 2553<ref>http://manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9520000126667&#Opinion ด่วน!! ยูเนสโก ยกย่อง “หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์–ครูเอื้อ” เป็นบุคคลสำคัญของโลกแล้ว</ref>
 
== ประวัติ ==
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2454 ในเรือกลาง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ณ ตำบลบ้านม้า [[อำเภออินทร์บุรี]] [[จังหวัดสิงห์บุรี]] เป็นโอรสคนสุดท้อง ในบรรดาโอรส-ธิดา ทั้ง 6 คน ของ พลโท [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ]] กับหม่อมแดง (บุนนาค) ชื่อ "คึกฤทธิ์" นั้นมาจากการที่ชอบร้องไห้เสียงดังในวัยทารก จึงได้รับพระราชทานนามนี้จาก [[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]
 
ชีวิตส่วนตัว[[สมรส]]กับ [[หม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่]] เมื่อ พ.ศ. 2479 มีบุตรธิดา 2 คน คือ [[หม่อมหลวงรองฤทธิ์ ปราโมช]] และ [[หม่อมหลวงวิสุมิตรา ปราโมช]] ต่อมาได้แยกกันอยู่กับหม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง
บรรทัด 74:
ในด้านวรรณศิลป์ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ มีผลงานหนังสือที่มีชื่อเสียงระดับประเทศมากมาย ที่ได้รับการตีพิมพ์ซ้ำแล้วซ้ำอีก เช่น ''[[สี่แผ่นดิน]]'', ''[[ไผ่แดง]]'', ''[[กาเหว่าที่บางเพลง]]'', ''[[หลายชีวิต]]'', ''[[ซูสีไทเฮา (นิยายของคึกฤทธิ์ ปราโมช)|ซูสีไทเฮา]]'', ''[[สามก๊กฉบับนายทุน]]'' และเรื่องสั้น "มอม" ซึ่งได้ใช้เป็นบทความประกอบแบบเรียนภาษาไทยในปัจจุบัน บางชิ้นมีผู้นำไปทำเป็นละครโทรทัศน์ เช่น ''สี่แผ่นดิน'', ''หลายชีวิต'' และทำเป็นภาพยนตร์ เช่น ''กาเหว่าที่บางเพลง''
 
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538 ณ [[โรงพยาบาลสมิติเวช]] รวมอายุ {{อายุปีและวัน|2454|04|20|2538|10|09}} ต่อมาเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2538 เวลา 17.15 น. [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] พร้อมด้วย[[พระบรมวงศานุวงศ์]] พระราชทานเพลิงพระศพ ณ [[เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส]]<ref name"พระราชทานเพลิง"/> ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 กระทรวงวัฒนธรรมได้เสนอชื่อต่อ[[ยูเนสโก]]ให้เป็น[[บุคคลสำคัญของโลก]] สาขา การศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร์และสื่อสารมวลชน เนื่องในโอกาสครบรอบชาตกาล 100 ปี ในวันที่ 20 เมษายน 2554 นับเป็นคนไทยลำดับที่ 20
 
== การศึกษา ==
บรรทัด 165:
 
== รางวัลและเกียรติยศ ==
ศาสตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้รับพระราชทานยศ[[กองอาสารักษาดินแดน]]เป็น นายกองใหญ่ ในฐานะนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย<ref>http: name"อาสาคึกฤทธิ์"//www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/D/056/845.PDF</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
ศาสตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์ '''คึกฤทธิ์ ปราโมช''' ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์<ref name="พระราชทานเพลิง"/> ดังนี้
{{ป.จ.ฝ่ายหน้า|2518}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2518/D/095/12.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์] ฉบับพิเศษ เล่ม ๙๒ ตอนที่ ๙๕ วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๑๘ หน้า ๑๒</ref>
{{ม.ป.ช.|2517}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2517/D/229/38.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์] ฉบับพิเศษ เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๒๒๙ วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๑๗ หน้า ๓๘</ref>
บรรทัด 275:
}}
{{เรียงลำดับ|คึกฤทธิ์ ปราโมช}}
{{เกิดปีอายุขัย|2454}}{{ตายปี|2538}}
 
[[หมวดหมู่:หม่อมราชวงศ์]]
บรรทัด 300:
[[หมวดหมู่:พรรคกิจสังคม]]
[[หมวดหมู่:ศิลปินแห่งชาติ]]
[[หมวดหมู่:ศาสตราจารย์พิเศษ]]
[[หมวดหมู่:อาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ - วารสารศาสตร์ - การสื่อสาร]]
[[หมวดหมู่:นักหนังสือพิมพ์ชาวไทย]]