ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีเซต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prame tan (คุย | ส่วนร่วม)
บทนำใหม่
Prame tan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
การศึกษาเซตเริ่มต้นโดย [[เกออร์ค คันทอร์]] และ [[ริชารด์ เดเดคินด์]] ใน่ช่วงหลังของศตวรรษที่ 19 แต่ต่อมาพบว่าทฤษฎีเซตสามัญนั้นก่อให้เกิด[[ปฏิทรรศน์]]ตามมา เช่น ปฏิทรรศน์ของรัสเซิลล์ จึงทำให้นักคณิตศาสตร์นิยามเซตผ่านระบบสัจพจน์แทน ระบบสัจพจน์ของเซตที่เป็นที่นิยมมากที่สุดคือ [[ทฤษฎีเซตแซร์เมโล-แฟรงเคิล]] ทั้งแบบที่มีและไม่มี[[สัจพจน์การเลือก]]
 
นอกจากปัจจุบันทฤษฎีเซตจะถือเป็นรากฐานของคณิตศาสตร์แล้ว โดยเฉพาะทฤษฎีเซตในรูปแบบ[[ทฤษฎีเซตแซร์เมโล-แฟรงเคิล]]พร้อมด้วยทฤษฎีเซต<ref>{{Cite book|last=Kunen|first=Kenneth|url=https://www.worldcat.org/oclc/6649856|title=Set theory : an introduction to independence proofs|date=1980|publisher=North-Holland Pub. Co.|isbn=0-444-85401-0|location=Amsterdam|oclc=6649856}}</ref> ทฤษฎีเซตเองนั้นก็เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่ยังได้รับการวิจัยค้นตว้าคว้าอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Georg Cantor3.jpg|thumb|192x192px|[[เกออร์ค คันทอร์]]]]
ทฤษฎีเซตอาจถือได้ว่ามีจุดเริ่มต้นจาก[[เกออร์ค คันทอร์]]<ref>{{Cite journal|last=Johnson|first=Phillip E.|date=1970|title=THE EARLY BEGINNINGS OF SET THEORY|url=https://www.jstor.org/stable/27958491|journal=The Mathematics Teacher|volume=63|issue=8|pages=690–692|issn=0025-5769}}</ref> ผ่านวารสารชิ้นสำคัญที่ชื่อว่า ''สมบัติข้อหนึ่งของกลุ่มรวม[[จำนวนพีชคณิต]]ทั้งหมด'' ("Ueber eine Eigenschaft des Inbegriffes aller reellen algebraischen Zahlen")<ref>{{Cite journal|date=1874-01-01|title=Ueber eine Eigenschaft des Inbegriffs aller reellen algebraischen Zahlen.|url=https://www.degruyter.com/document/doi/10.1515/crll.1874.77.258/html|journal=Journal für die reine und angewandte Mathematik (Crelles Journal)|volume=1874|issue=77|pages=258–262|doi=10.1515/crll.1874.77.258|issn=0075-4102}}</ref>
 
== ทฤษฎีเซตเชิงสัจพจน์ ==