ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวพม่าในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
}}
 
'''ชาวพม่าในไทย''' เป็นชาวต่างชาติที่มาอาศัยอยู่ใน[[ประเทศไทย]]มากที่สุด จากการสำรวจใน พ.ศ. 2557 พบว่ามีชาวพม่ากว่า 1,418,472 ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย แบ่งเป็น ชาย 812,798 คน และหญิง 605,674 คน หรือคิดเป็น 70% ของชาวพม่าที่อาศัยอยู่นอกประเทศ<ref name="cens"/> ชาวพม่าในไทยส่วนใหญ่แบ่งเป้นเป็น 3 กลุ่มคือ แรงงานมีฝีมือ แรงงานไร้ฝีมือ และ ผู้อพยพหนี้ความขัดแย้ง
 
ชาวพม่าส่วนใหญ่จะเป็นแรงงานไร้ฝีมือในอุตสหกรรมการประมง โรงงานอาหารทะเลแปรรูป แรงงานก่อสร้าง อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม และงานบริการต่าง ๆ ในประเทศไทย<ref name="mcgann">{{cite web|url=http://www.migrationpolicy.org/article/opening-burmese-borders-impacts-migration|title=The Opening of Burmese Borders: Impacts on Migration|last=McGann|first=Nora|date=20 February 2013|publisher=Migration Policy Institute|accessdate=18 July 2015}}</ref> [[มหาวิทยาลัยแมคควอรี่]]ประเมินว่ามีการส่งเงินจากไทยไปพม่าเฉลี่ยมากกว่า 300 ล้าน[[ดอลลาร์สหรัฐ]]ต่อปี<ref name="irin">{{cite news|url=http://www.irinnews.org/report/91498/myanmar-remittances-support-survival|title=MYANMAR: Remittances support survival|date=31 December 2010|publisher=IRIN|accessdate=18 July 2015}}</ref><ref name="turnell">{{cite web|url=http://www.econ.mq.edu.au/Econ_docs/bew/Burma_Survey_Remittances.pdf|title=Migrant Worker Remittances and Burma: An Economic Analysis of Survey Results|last=Turnell|first=Sean|author2=Alison Vicary|author3=Wylie Bradford|work=BURMA ECONOMIC WATCH|publisher=Macquarie University|accessdate=18 July 2015|url-status=dead|archiveurl=https://web.archive.org/web/20130515071054/http://www.econ.mq.edu.au/Econ_docs/bew/Burma_Survey_Remittances.pdf|archivedate=15 May 2013}}</ref> การย้ายถิ่นฐานเข้ามาในไทยของชาวพม่าเริ่มขึ้นในช่วง[[คริสต์ทศวรรษ 1970]] หลัง[[รัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2505|การรัฐประหารของนายพลเนวี่น]]ที่ทำให้[[สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า|พม่ากลายเป็นสังคมนิยม]]และการพัฒนาเศรษฐกิจหยุดชะงัก<ref name="vicary">{{cite web|url=http://www.businessandeconomics.mq.edu.au/our_departments/Economics/Econ_docs/bew/2004/2004_Economic_Survey.pdf|title=ECONOMIC SURVEY OF ‘BURMESE’ WORKING IN THAILAND1 : AN OVERVIEW OF A BEW PROJECT|last=Vicary|first=Alison |date=2004|publisher=Macquarie University|accessdate=18 July 2015}}</ref> แรงงานชาวพม่ามีส่วนช่วยในการสร้าง[[เศรษฐกิจไทย]]เป็นอย่างมาก โดยมีส่วนร่วมประมาณ 5 ถึง 6.2% ของ[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ|จีดีพี]]ประเทศไทย<ref name="brees">{{cite journal|last=Brees|first=Inge|date=Winter–Spring 2010|title=Burden or Boon: The Impact of Burmese Refugees on Thailand|journal=The Whitehead Journal of Diplomacy and International Relations}}</ref>