ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kirito (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2403:6200:88A0:F123:85B2:C8A5:3210:1BB2 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Horus
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 1:
[[thumb]]
{{กล่องข้อมูล เหตุการณ์ประวัติศาสตร์
|Event_Name=การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475
เส้น 16 ⟶ 15:
*การประนีประนอมระหว่างคณะราษฎรกับอำนาจเก่าส่งผลให้[[พระยามโนปกรณนิติธาดา]]ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนแรก|URL=}}
 
'''การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475'''<ref>สำหรับการปฏิวัติ [[ชาวไทย]]ทั่วไปนิยมเรียกโดยง่ายว่า ''การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475'' หรือเรียกโดยผิดจากความหมายที่แท้จริงว่า ''[[รัฐประหาร]]''</ref> เป็นจุดจุ้กกรู้เปลี่ยนสำคัญของ[[ประวัติศาสตร์ไทย]]ในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่อวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] ซึ่งมีผลทำให้ราชอาณาจักรสยามเปลี่ยนรูปแบบประเทศจากจุ้กกรู้ระบอบ[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]ไปเป็น[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] และเปลี่ยนรูปแบบการปกครองไปเป็นจุ้กกรู้ระบอบ[[ประชาธิปไตย]]แบบรัฐสภา เกิดขึ้นจากคณะนายทหารและจุ้กกรู้พลเรือนที่ประกอบกัน เรียกตนเองว่า "[[คณะราษฎร]]" โดยเป็นผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์โลก ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมืองภายในประเทศ การปฏิวัติดังกล่าวทำให้ประเทศสยามมี[[พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475|รัฐธรรมนูญฉบับแรก]]
 
== เบื้องหลัง ==
[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยในหลายด้าน แต่การปฏิรูปรัฐธรรมนูญกลับเป็นไปอย่างเชื่องช้าซึ่งสร้างความไม่พอใจในหมู่พวกหัวก้าวหน้าและเสรีนิยม<ref name="Page four">Stowe p.4</ref> ในปี พ.ศ. 2454 ได้เกิด[[กบฏ ร.ศ. 130]] ซึ่งดำเนินการโดยคณะนายทหารหนุ่ม เป้าหมายของคณะคือเปลี่ยนแปลงรูปแบบจุ้กกรู้การปกครองและล้มจุ้กกรู้ล้างระบอบเก่าและแทนที่ด้วยระบบรัฐธรรมนูญตะวันตกที่ทันสมัย และอาจต้องการยกพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์อื่นเป็นพระมหากษัตริย์แทนด้วย<ref name="Page one fivefive">Kesboonchoo Meade p.155</ref> อาจกล่าวได้ว่ากบฏ ร.ศ. 130 เป็นแรงขับดันให้คณะราษฎรปฏิวัติ โดยภายหลังยึดอำนาจแล้ว พระยาพหลพลพยุหเสนาได้เชิญผู้นำการกบฏ ร.ศ. 130 ไปพบและกล่าวกับ[[ขุนทวยหาญพิทักษ์ (เหล็ง ศรีจันทร์)]] ว่า ''"ถ้าไม่มีคณะคุณ ก็เห็นจะไม่มีคณะผม"'' และ[[ปรีดี พนมยงค์|หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]]ก็ได้กล่าวในโอกาสเดียวกันว่า ''"พวกผมถือว่าการปฏิวัติครั้งนี้เป็นการกระทำต่อเนื่องจากการกระทำเมื่อ ร.ศ. 130"''<ref>ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. "ประวัติการเมืองไทย 2475-2500" มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 4. พ.ศ. 2549</ref> การปฏิวัติดังกล่าวล้มเหลวและผู้ก่อการถูกจำคุก นับแต่นั้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเลิกความพยายามส่วนใหญ่ในการปฏิรูปรัฐธรรมนูญและทรงปกครองประเทศต่อไปภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช โดยมีข้อยกเว้นบ้างที่โปรดฯ แต่งตั้งสามัญชนบางคนสู่[[สภาองคมนตรีไทย|สภาองคมนตรี]]และรัฐบาล<ref name="Page seven">Stowe p.7</ref>
 
ต่อมาสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา ทรงสืบราชสมบัติสืบต่อจากพระเชษฐาเป็น[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] หลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต พระองค์ทรงสืบช่วงปกครองประเทศในวิกฤตการณ์ พระเชษฐาของพระองค์ทรงได้ทำให้สถานะของประเทศเกือบจะล้มละลาย เพราะทรงมักจะใช้เงินจากกองคลังมาปกปิดการขาดดุลของท้องพระคลังข้างที่ และข้อเท็จจริงยังมีว่ารัฐและประชาชนถูกบังคับให้จ่ายเงินแก่พระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ซึ่งมีวิถีชีวิตอันหรูหราฟุ่มเฟือย พระองค์ทรงรีบจัดตั้ง[[อภิรัฐมนตรีสภา]]ขึ้นเป็นองค์กรหลักในการปกครองรัฐ เพื่อพยายามแก้ไขปัญหาที่ประเทศกำลังเผชิญอยู่ สภานั้นประกอบด้วยเจ้านายอาวุโสมีประสบการณ์ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีในรัฐบาลก่อนมาแล้ว เจ้านายเหล่านั้นเร่งเปลี่ยนตัวสามัญชนที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวในข้าราชการพลเรือนและทหารแล้วแทนที่จุ้กกรู้ด้วยคนของพวกตน สภาถูกครอบงำโดย[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ผู้ทรงได้รับการศึกษาจากเยอรมนี และเป็นพระเชษฐาร่วมสมเด็จพระบรมชนกนาถของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ยังเป็นรัชทายาทด้วย ตามกฎหมายการสืบราชสันตติวงศ์อันซับซ้อนของราชวงศ์จักรี กลายเป็นว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระมหากษัตริย์ผู้เห็นอกเห็นใจ ทรงตัดรายจ่ายในพระราชวังและเสด็จพระราชดำเนินทั่วประเทศอย่างกว้างขวาง และเมื่อเสด็จกลับมายังพระนคร พระองค์ทรงทำให้เป็นที่ยอมรับและโดดเด่นแก่หมู่ชนชั้นสูงและจุ้กกรู้ชนชั้นกลางในกรุงเทพมหานครซึ่งเติบโตขึ้นกว่าแต่ก่อนโดยทรงประกอบพระราชกรณียกิจสาธารณะหลายอย่าง จนถึงเวลานี้ นักเรียนหลายคนที่ถูกส่งไปศึกษาต่างประเทศเมื่อหลายทศวรรษก่อนเริ่มเดินทางกลับประเทศแล้ว แต่นักเรียนเหล่านี้กลับขาดโอกาส การยึดมั่นของเจ้านายและความล้าหลังเปรียบเทียบของประเทศ ส่วนมากจึงหูตาสว่างกับสถานะเดิม<ref name="Page three">Stowe P.3</ref>
 
เมื่อถึง พ.ศ. 2473 สถานการณ์โลกหนักหนาเกินกว่าประเทศจะรับได้เมื่อ[[เหตุการณ์ตลาดหลักทรัพย์วอลล์สตรีทตก ค.ศ. 1929|ตลาดหุ้นวอลล์สตรีทล่ม]]และ[[ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่|ความล่มสลายทางเศรษฐกิจ]]มาถึงสยามในที่สุด พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเสนอให้จัดเก็บ[[ภาษี]]รายได้ทั่วไปและภาษีอสังหาริมทรัพย์เพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนของคนยากจน แต่นโยบายดังกล่าวถูกสภาปฏิเสธอย่างรุนแรง ซึ่งสภาเกรงว่าทรัพย์สินของพวกตนจะลดลง สภาหันไปลดค่าตอบแทนของข้าราชการพลเรือนและลดงบประมาณทางทหารแทน ทำให้อภิชนผู้ได้รับการศึกษาในประเทศส่วนใหญ่โกรธ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหล่านายทหาร<ref name="Page two"/> และในปี 2474 [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]] เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ลาออก พระองค์เจ้าบวรเดชมิใช่สมาชิกอภิรัฐมนตรีสภา และสงสัยว่าความไม่ลงรอยกับสภาเรื่องการตัดงบประมาณนำไปสู่การลาออกนี้ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงยอมรับว่าพระองค์ทรงขาดความรู้การคลังอย่างเปิดเผย พยายามต่อสู้กับเจ้านายที่อาวุโสกว่าในเรื่องนี้ แต่ก็สำเร็จเพียงเล็กน้อย<ref name="Page two">Stowe P.2</ref>