ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเคลื่อนที่แบบบราวน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Enwuft (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับสำนวน
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Wiener process 3d.png|thumb|ภาพเสมือนจริง 3 มิติของการเคลื่อนที่แบบบราวน์ ในกรอบเวลา 0 ≤ ''t'' ≤ 2]]
 
'''การเคลื่อนที่แบบบราวน์''' ({{lang-en|Brownian motion}}; ตั้งชื่อตามนักพฤกษศาสตร์ [[โรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)|โรเบิร์ต บราวน์]] หรือ pedesis มาจากคำกรีกโบราณ πήδησις อ่านว่า /pέːdεːsis/ แปลว่า กระโดด) หมายถึงเป็น[[การเคลื่อนที่]]แบบสุ่มของ[[อนุภาค]]ที่[[สารแขวนลอย|แขวนลอย]]อยู่ในของไหล ([[ของเหลว]]หรือก๊าซ)[[แก๊ส]] โดยมีเหตุจากการชนกับ[[อะตอม]]หรือ[[โมเลกุล]]ที่คิดว่าเป็นกำลังเคลื่อนที่ไปโดยสุ่มอย่างรวดเร็วในของเหลวหรือแก๊ส<ref>{{cite book | authors = Feynman, R | year = 1964 | title = The Brownian Movement | work = The Feynman Lectures of Physics | vol = I | pages = 41-1 }}</ref> หรือหมายถึงแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่ใช้เพื่ออธิบายการเคลื่อนที่แบบสุ่มดังกล่าว มักเรียกกันว่า [[อนุภาค|ทฤษฎีอนุภาค]]
 
มีการนำแบบจำลองคณิตศาสตร์ของการเคลื่อนที่แบบบราวน์ไปประยุกต์ใช้ในโลกจริงมากมาย ตัวอย่างที่นิยมอ้างถึงคือ ความผันผวนของ[[ตลาดหุ้น]] อย่างไรก็ดี การเคลื่อนไหวของราคาหุ้นอาจเพิ่มขึ้นเนื่องจากเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดการณ์ได้ซึ่งอาจไม่เกิดซ้ำกันอีก
บรรทัด 34:
* [http://www.gizmag.com/einsteins-prediction-finally-witnessed/16212/ "Einstein's prediction finally witnessed one century later"] : a test to observe the velocity of Brownian motion
 
{{โครงฟิสิกส์}}
[[หมวดหมู่:กลศาสตร์เชิงสถิติ]]
[[หมวดหมู่:เคมีคอลลอยด์]]
[[หมวดหมู่:กระบวนการทางเคมี]]
[[หมวดหมู่:แฟร็กทัล]]
[[หมวดหมู่:เคมีเชิงฟิสิกส์]]
[[หมวดหมู่:คอลลอยด์]]
[[หมวดหมู่:อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]