ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทยถิ่นเหนือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แก้ไขให้ถูกต้อง
บรรทัด 22:
| iso3=nod}}
 
'''คำเมืองกําเมืองหรือคําเมือง''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:Lanna-Kham_Mueang.png|40px]] }}, [กำเมือง]) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''ภาษาถิ่นภาคพายัพ(นิยามในพจนานุกรม)'''<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า (10)</ref> เป็น[[ภาษาถิ่น]]ของชาว[[ไทยวน]]ทาง[[ภาคเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคเหนือ]]ตอนบนของ[[ประเทศไทย]] ซึ่งเป็น[[อาณาจักรล้านนา]]เดิม ได้แก่ [[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]], [[จังหวัดเชียงราย|เชียงราย]], [[จังหวัดอุตรดิตถ์|อุตรดิตถ์]], [[จังหวัดแพร่|แพร่]], [[จังหวัดน่าน|น่าน]], [[จังหวัดแม่ฮ่องสอน|แม่ฮ่องสอน]], [[จังหวัดลำพูน|ลำพูน]], [[จังหวัดลำปาง|ลำปาง]], [[จังหวัดพะเยา|พะเยา]] และยังมีการพูดและการผสมภาษากันในบางพื้นที่ของจังหวัด[[จังหวัดตาก|ตาก]], [[จังหวัดสุโขทัย|สุโขทัย]] และ[[จังหวัดเพชรบูรณ์|เพชรบูรณ์]] ปัจจุบันกลุ่มคนไทยวนได้กระจัดกระจายและมีถิ่นที่อยู่ใน[[จังหวัดสระบุรี]], [[จังหวัดราชบุรี]] และอำเภอของจังหวัดอื่นที่ใกล้เคียงกับราชบุรีอีกด้วย
 
คำเมืองยังสามารถแบ่งออกเป็นสำเนียงล้านนาตะวันตก (ในจังหวัด[[เชียงใหม่]], [[ลำพูน]] และ[[แม่ฮ่องสอน]]) และสำเนียงล้านนาตะวันออก (ในจังหวัด[[เชียงราย]], [[พะเยา]], [[ลำปาง]], [[อุตรดิตถ์]], [[แพร่]] และ[[น่าน]]) ซึ่งจะมีความแตกต่างกันบ้าง คือ สำเนียงล้านนาตะวันออกส่วนใหญ่จะไม่พบสระเอือะ เอือ แต่จะใช้สระเอียะ เอียแทน (มีเสียงเอือะและเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออกเอง เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใกล้เคียงกับเอียะ เอีย)
บรรทัด 32:
== ชื่อ ==
ภาษาถิ่นภาคพายัพมีชื่อเรียกหลายชื่อ โดยภาษาจาก[[ตระกูลภาษาไท]]ต่าง ๆ มีชื่อเรียกซึ่งคล้ายคลึงหรือไม่เหมือนกัน
* ในภาษาถิ่นพายัพเองคําเมืองเอง มักเรียกว่า "กำเมือง" ([[อักษรธรรมล้านนา|อักษรธรรม]]: ᨣᩤᩴᨾᩮᩬᩥᨦ, รูปปริวรรต: คำเมือง) อันแปลว่า "ภาษาของเมือง" หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "ภาษาล้านนา" ส่วนชาวยวนในจังหวัดราชบุรี เรียกภาษาของตนว่า "ภาษาลาว"<ref>{{cite web |url=http://kwannthp.wordpress.com/2011/12/22/ประเพณีไทยวน-thai-yuan/|title=วิถีชีวิตและภาษา|author= |date=|work= |publisher=Thai Yuan Festival|accessdate=29 ธันวาคม 2556}}</ref>
* [[ภาษาไทย|ภาษาไทยมาตรฐาน]] เรียกว่า "ภาษาถิ่นพายัพ", "ภาษาไทยถิ่นเหนือ" หรือเรียกสั้นๆ ว่า "ภาษาเหนือ" หรือ "ภาษายวน" ในอดีตเรียก "ลาวเฉียง" หรือ "คำเฉียง"<ref>[[จิตร ภูมิศักดิ์]]. ''ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:ชนนิยม. 2556, หน้า 139</ref>
* [[ภาษาลาว]] เรียกว่า "ภาษายวน" ([[ภาษาลาว|ลาว]]: ພາສາຍວນ, รูปปริวรรต: พาสายวน) หรือ "ภาษาโยน" ([[ภาษาลาว|ลาว]]: ພາສາໂຍນ, รูปปริวรรต: พาสาโยน)