ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็มบีเคเซ็นเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GZV007 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 45:
[[ไฟล์:MBK Center Atrium 201801.jpg|right|thumb|200px|เอ็มบีเคเซ็นเตอร์ โซนเอ (Atrium)]]
 
'''ศูนย์การค้าเอ็มบีเค เซ็นเตอร์''' ({{lang-en|MBK Center}}) เป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่ใน[[กรุงเทพมหานคร]] ดำเนินงานโดยบริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน) ภายในอาคารขนาด 8 ชั้น ซึ่งตั้งอยู่เลขที่ 444 [[ถนนพญาไท]] แขวงวังใหม่ [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] บริเวณมุมตะวันตกเฉียงใต้ของ[[แยกปทุมวัน|สี่แยกปทุมวัน]] ใน[[ย่านสยาม]] มีพื้นที่ใช้ทั้งหมด 270,685.57 ตารางเมตร ซึ่งส่วนหนึ่งจัดเป็นพื้นที่เช่าค้าขาย จำนวนกว่า 2,500 ร้านค้า โดยมีสินค้าและบริการเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ
 
== ประวัติ ==
 
''บริษัท มาบุญครองอบพืชและไซโล จำกัด'' จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ [[25 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2517]][[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-history-2|<sup>[2]</sup>]]  ดำเนินกิจการให้บริการพัก เก็บ อบ และขนถ่ายผลิตผลทางการเกษตร และ[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] อนุมัติให้จดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์รับอนุญาต เมื่อปี [[พ.ศ. 2521]][[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-history-2|<sup>[2]</sup>]]
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2526 บริษัทฯ ดำเนินการเช่าที่ดิน บริเวณสี่[[แยกปทุมวัน]] กับ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] แล้วก่อสร้างอาคาร ''ศูนย์การค้ามาบุญครอง'' จนกระทั่งแล้วเสร็จ เริ่มเปิดให้บริการ เมื่อวันที่ [[7 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2528]][[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-history-2|<sup>[2]</sup>]] ''ศูนย์การค้ามาบุญครอง'' นับเป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทยในเวลานั้น ซึ่งมีลักษณะเด่นที่ผนังอาคารทั้งหลัง บุด้วยหินอ่อนทั้งภายนอกและภายใน ทว่าบริษัทฯ ขอยุติการเป็นหลักทรัพย์รับอนุญาต เมื่อปี [[พ.ศ. 2530]][[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-history-2|<sup>[2]</sup>]]
 
จากนั้นปี พ.ศ. 2533 มีการเปลี่ยนแปลงคณะผู้บริหาร[[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-history-2|<sup>[2]</sup>]] พร้อมทั้งชื่อใหม่เป็น''บริษัท เอ็มบีเค พรอพเพอร์ตีส์ แอนด์ ดีเวลอปเมนต์ จำกัด'' ซึ่งเข้าจดทะเบียนแปรสภาพ เป็น[[บริษัทมหาชนจำกัด]] เมื่อวันที่ [[8 เมษายน]] [[พ.ศ. 2537]] เข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนใน[[ตลาดหลักทรัพย์ฯหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] เมื่อวันที่ [[5 เมษายน]] [[พ.ศ. 2539]] โดยใช้ชื่อย่อหลักทรัพย์ว่า MBK-PD และเริ่มซื้อขายหุ้นสามัญของบริษัทฯ ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ตั้งแต่วันที่ [[24 เมษายน]] ปีเดียวกัน[[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-background-3|<sup>[3]</sup>]]
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2543]] ศูนย์การค้าเปลี่ยนชื่อเป็น ''เอ็ม บี เค เซ็นเตอร์'' พร้อมทั้งดำเนินการปรับปรุงอาคาร โดยเปลี่ยนวัสดุผนังภายนอก และปรับปรุงทางหนีไฟ จากนั้น ดำเนินการเปลี่ยนชื่อบริษัทฯ อีกสองครั้งเป็น''บริษัท เอ็ม บี เค ดีเวลอปเมนต์ จำกัด (มหาชน)'' เมื่อวันที่ [[20 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2545]] และเป็น ''บริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน)'' รวมทั้งเปลี่ยนชื่อย่อหลักทรัพย์เป็น MBK เมื่อวันที่ [[10 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2546]][[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์#cite%20note-background-3|<sup>[3]</sup>]]
 
<gallery mode=packed>
บรรทัด 69:
เอ็มบีเค เซ็นเตอร์ เป็นศูนย์การค้าครบวงจรภายใต้ Concept “One Stop Shopping” ตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า 23 ไร่ โดยมีพื้นที่สำคัญดังนี้
 
* [[ดองกิโฮเต้ (ร้าน)|ดอง ดอง ดองกิ]] (ใช้พื้นที่เดิมของ[[ห้างสรรพสินค้าโตคิว]], กำลังปรับปรุง)
* [[ท็อปส์ ซูเปอร์มาร์เก็ต|ท็อปส์ มาร์เก็ต]]
** [[แฟมิลี่มาร์ท]] (ชั้น 4 โซน D)
บรรทัด 88:
* [[ธนาคารธนชาต]] สำนักงานใหญ่ (ย้ายมาจากสำนักงานแถวห้วยขวาง)
 
โดยมีสะพานลอยปรับอากาศเชื่อมศูนย์การค้ากับ[[สยามสแควร์]] ผ่านโซน A LA ART ที่ชั้น 2 , ทางเชื่อม[[รถไฟฟ้าบีทีเอส]] [[สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ]] ที่ชั้น 2, 3 และสะพานลอยเชื่อมไปยัง[[คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะสหเวชศาสตร์]] และ[[สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์]] ของ[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ที่ชั้น 3
 
=== พื้นที่จัดสรรในอดีต ===