ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:ชาวไทย/ทดลองเขียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
แปล
บรรทัด 20:
หลังจาก[[ยุทธการเนสจา]] (Battle of Nesjar) ในปี ค.ศ. 1016 นอร์เวย์ได้ตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของ [[พระเจ้าโอลาฟที่ 2 แห่งนอร์เวย์|โอลาฟ ฮารัลด์สัน]] และกลายเป็นราชอาณาจักรอิสระไม่ขึ้นกับเดนมาร์กอีกต่อไป เป็นเหตุให้โฮกุน (Hakon) บุตรชายของอีริค ตัดสินใจเดินทางไปหาบิดาในอังกฤษ ซึ่งน่าจะเกิดขึ้นระหว่างที่อีริคเดินทางไปอังกฤษได้แล้วสักพักหนึ่ง และเป็นช่วงหลังจากที่สเวน ผู้เป็นลุง เสียชีวิตลงขณะล่าถอยไปยังสวีเดน สันนิษฐานว่าเพื่อรวบรวมกําลังเสริมในการชิงนอร์เวย์กลับคืนมา
 
ฮารัลด์ พระเชษฐาของพระเจ้าคนุต อาจจะเคยเสด็จมาร่วมพิธีราชาภิเษกของพระราชอนุชาใน ค.ศ. 1016 ก่อนที่จะเสด็จกลับเดนมาร์กไปพร้อมกองเรือส่วนหนึ่ง เป็นที่ทราบว่ามีการบันทึกพระนามของพระเจ้าฮารัลด์กับพระเจ้าคนุต ในรายชื่อสหสมาคมภราดา (Confraternity) ของ[[อาสนวิหารแคนเทอร์เบอรี|ไครสต์เชิร์ช แคนเทอร์เบอรี]] เมื่อปี ค.ศ. 1018 {{sfn|Lawson|2004|p=89}} กระนั้นบันทึกดังกล่าวก็ไม่สามารถยืนยันได้ว่าพระเจ้าฮารัลด์เคยเสด็จมาอังกฤษจริง เนื่องจากบันทึกดังกล่าวอาจจะถูกจัดทําขึ้นโดยที่พระเจ้าฮารัลด์ไม่ได้มีส่วนรับทราบด้วย ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าจะเป็นรับสั่งจากพระเจ้าคนุตเอง โดยทั่วไปแล้วเชื่อกันว่าพระเจ้าฮารัลด์สวรรคตในปีเดียวกัน จึงทําให้เกิดความไม่แน่ใจว่าบันทึกฉบับนั้นจัดทําขึ้นในระหว่างที่พระเจ้าฮารัลด์ยังคงทรงพระชนม์อยู่ หรือสวรรคตไปแล้วกันแน่ {{sfn|Lawson|2004|p=89}} การบันทึกพระนามของพระเชษฐาใน[[โคเด็กซ์]] (Codex) ที่แคนเทอร์เบอรี อาจจะเป็นความพยายามโน้มน้าวศาสนจักรของพระเจ้าคนุต เพื่อให้พวกเขาเห็นว่าการล้างแค้นผู้ปลงพระชนม์พระเจ้าฮารัลด์ของพระองค์เป็นการกระทําที่ชอบธรรม หรือการบันทึกดังกล่าวอาจจะเป็นไปเพื่อขอให้ดวงพระวิญญาณของผู้ล่วงลับได้อยู่ภายใต้ความคุ้มครองของพระผู้เป็นเจ้า มีหลักฐานบ่งชี้ว่าพระเจ้าคนุตกําลังทรงปราบปราม''โจรสลัด'' ในปี ค.ศ. 1018, with his destruction of the crews of thirty ships,โดยทรงทําลายเรือของพวกโจรไปกว่าสามสิบลํา<ref>Thietmar, ''Chronicon'', vii. 7, pp. 502–03</ref> althoughแต่ก็ไม่เป็นที่ทราบกันว่าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่นอกชายฝั่งของอังกฤษหรือเดนมาร์ก itพระเจ้าคนุตเองก็ทรงกล่าวถึงปัญหาความวุ่นวายในพระราชสาสน์ของพระองค์เองเมื่อปี is unknown if this was off the English or Danish shoresค.ศ. He himself mentions troubles in his 1019 letter (to England, from Denmarkเป็นพระราชสาสน์ซึ่งส่งจากเดนมาร์กไปยังอังกฤษ), written as the King of England and Denmark. These events can be seen, with plausibility, to be in connection with the death of Harald. Cnut says he dealt with dissenters to ensure Denmark wasซึ่งพระองค์ทรงเขียนขึ้นในฐานะกษัตริย์แห่งอังกฤษและเดนมาร์ก freeสันนิษฐานได้ว่าเหตุการณ์เหล่านี้อาจจะเกี่ยวข้องกับการสวรรคตของพระเจ้าฮารัลด์ toใจความชองสาสน์ดังกล่าวสื่อความโดยนับว่าพระเจ้าคนุตทรงพยายามสะสางความวุ่นวายต่าง assist England:เพื่อให้เดนมาร์กสามารถช่วยเหลืออังกฤษได้{{sfn|Lawson|2004|p=90}}
{{quote|King Cnut greets in friendship his archbishop and his diocesan bishops and Earl Thurkil and all his earls ... ecclesiastic and lay, in England ... I inform you that I will be a gracious lord and a faithfull observer of God's rights and just secular law. (He exhorts his ealdormen to assist the bishops in the maintenance of) God's rights ... and the benefit of the people.
If anyone, ecclesiastic or layman, Dane or Englishman, is so presumptuous as to defy God's law and my royal authority or the secular laws, and he will not make amends and desist according to the direction of my bishops, I then pray, and also command, Earl Thurkil, if he can, to cause the evil-doer to do right. And if he cannot, then it is my will that with the power of us both he shall destroy him in the land or drive him out of the land, whether he be of high or low rank. And it is my will that all the nation, ecclesiastical and lay, shall steadfastly observe Edgar's laws, which all men have chosen and sworn at Oxford.