ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นางนพมาศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 21:
ทั้งนี้ประเพณีหลวงทางน้ำพบไม่พบในรัฐที่อยู่เหนือจากกรุงศรีอยุธยาขึ้นไป ส่วนตระพังน้ำในสุโขทัยก็มีไว้ใช้อุปโภคบริโภคในวัดและวัง หาได้ทำกิจสาธารณะอย่างการลอยกระทงอย่างใด ส่วนในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 ที่กล่าวถึงการ "เผาเทียน เล่นไฟ" มีความหมายรวม ๆ เพียงว่าการทำบุญไหว้พระเท่านั้น และไม่ปรากฏการลอยกระทงเลย<ref name="อยุธยา">{{cite web |url=http://www.ayutthayastudies.aru.ac.th/content/view/239/133/|title=ลอยกระทง ขอขมาธรรมชาติ|author=|date=|work= |publisher=สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา|accessdate=15 เมษายน 2557}}</ref> เข้าใจว่าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เรื่องดังกล่าวขึ้นเพื่อฟื้นฟูพิธีกรรมสำคัญเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของอาณาจักร และด้วยความจำเป็นบางประการจึงทรงสมมุติฉากยุคพระร่วงเจ้ากับตัวละครสมมติคือนางนพมาศด้วยให้กระทงทำจากใบตอง นิธิ เอียวศรีวงศ์ได้คาดการณ์ว่าเรื่องนางนพมาศนี้ถูกเขียนขึ้น "ต้องแต่งอยู่ระหว่าง พ.ศ. 2360-2378 เป็นช้าที่สุด หนังสือนางนพมาศจึงเป็นวรรณกรรมของต้นรัตนโกสินทร์ชิ้นหนึ่ง มีลักษณะร่วมกับวรรณกรรมของยุคเดียวกันหลายประการ"<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. "โลกของนางนพมาศ". ''ไม่มีนางนพมาศ ไม่มีลอยกระทง สมัยสุโขทัย''. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:มติชน. 2545, หน้า 114-115</ref> และแพร่หลายจากวังหลวงไปสู่เมืองต่าง ๆ แถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา<ref name="อยุธยา"/> โดยอ้างอิงเรื่องนางนพมาศเป็นสำคัญ<ref name="สุวรรณภูมิ"/> ประวัติและเรื่องราวของนางนพมาศจึงแพร่หลายโดยทั่วไป
 
แม้จะมีการเปิดเผยว่าเรื่องนางนพมาศและประเพณีลอยกระทงมิได้เกิดขึ้นในสมัยสุโขทัยก็ตาม กระนั้นทางราชการไทยยังคงหยิบยกเรื่องนางนพมาศขึ้นมาโฆษณาวัฒนธรรมไทยเพื่อขายการท่องเที่ยวอยู่<ref>{{cite web |url=http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1320839087|title=นางนพมาศ และนางอื่น ๆ ล้วนทำหน้าที่เพื่อความเป็นไทย|author=สุจิตต์ วงษ์เทศ|date=9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554|work= |publisher=มติชน|accessdate=16 เมษายน 2557}}</ref> อีไต๊ๆๆ
 
== ดูเพิ่ม ==