ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลอดเลือด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ijimlim (คุย | ส่วนร่วม)
ความยาวหลอดเลือดของร่างกายในหลายๆบทความ
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox anatomy
{{สั้นมาก}}
[[ไฟล์:Arteriessystem.png|200px|right|framed|ระบบ Name = หลอดเลือดแดง]]
| Latin = vas sanguineum
| Image = Circulatory System en.svg
| Caption = แผนภาพอย่างง่ายของระบบไหลเวียนโลหิตของมนุษย์
| Width =
| Image2 =
| Caption2 =
| Precursor =
เป็นส่วนของ| System = [[ระบบไหลเวียนโลหิต]]
| Vein =
| Nerve =
| Lymph =
}}
 
'''หลอดเลือด''' ({{lang-en|blood vessel}}) เป็นส่วนประกอบของ[[ระบบไหลเวียนโลหิต]]ที่ขนส่ง[[เลือด]]ไปทั่ว[[ร่างกายมนุษย์]]<ref>{{Cite news|title=Blood Vessels – Heart and Blood Vessel Disorders – Merck Manuals Consumer Version|newspaper=Merck Manuals Consumer Version|url=http://www.merckmanuals.com/home/heart-and-blood-vessel-disorders/biology-of-the-heart-and-blood-vessels/blood-vessels|url-status=dead|access-date=2016-12-22|archive-url=https://web.archive.org/web/20150424010730/http://www.merckmanuals.com/home/heart-and-blood-vessel-disorders/biology-of-the-heart-and-blood-vessels/blood-vessels|archive-date=24 April 2015}}</ref> หลอดเลือดเหล่านี้ขนส่งเซลล์เม็ดเลือด สารอาหาร และออกซิเจนไปยังเนื้อเยื่อของร่างกาย อีกทั้งยังนำของเสียและคาร์บอนไดออกไซด์ออกไปจากเนื้อเยื่อ หลอดเลือดเป็นสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิต เนื่องจากเนื้อเยื่อของร่างกายทั้งหมดต้องอาศัยการทำงานของมัน<ref>{{cite web|url=https://my.clevelandclinic.org/health/articles/17059-how-does-blood-flow-through-your-body|title=Heart & Blood Vessels: Blood Flow|website=Cleveland Clinic}}</ref>
'''หลอดเลือด''' ({{lang-en|Blood vessel}})
เป็นส่วนของ[[ระบบไหลเวียนโลหิต]]
ทำหน้าที่ในการขนส่ง[[เลือด]]ไปยังส่วนต่างๆ ในร่างกาย
 
หลอดเลือดมี 5 ประเภท ได้แก่ [[หลอดเลือดแดง]] ซึ่งนำเลือดออกจาก[[หัวใจ]], [[หลอดเลือดแดงเล็ก]], [[หลอดเลือดฝอย]] ซึ่งเป็นจุดที่เกิดการแลกเปลี่ยนน้ำและสารเคมีระหว่างเลือดกับ[[เนื้อเยื่อ]], [[หลอดเลือดดำเล็ก]], และ[[หลอดเลือดดำ]] ซึ่งนำเลือดจากหลอดเลือดฝอยกลับไปที่หัวใจ
เมื่อไปถึงเซลล์จะมีการแลกเปลี่ยนอาหารและก๊าซต่างๆ ถ้านำหลอดเลือดในร่างกายมาต่อกันจะมีความยาวประมาณ 62,000 ไมล์หลอดเลือดในร่างกาย
แบ่งออกเป็น3 ประเภท ได้แก่ [[หลอดเลือดแดง]] (artery)
ทำหน้าที่ขนส่งเลือดออกจาก[[หัวใจ]] และ[[หลอดเลือดดำ]] (vein)
ขนส่งเลือดเข้าสู่หัวใจและหลอดเลือดฝอย (capillary)
 
คำว่า แวสคิวลาร์ (''vascular'') ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับหลอดเลือด รับมาจากคำภาษาละติน ''vas'' ซึ่งหมายถึง เรือ โครงสร้างบางอย่าง เช่น [[กระดูกอ่อน]] [[เยื่อบุผิว]] [[เลนส์ (กายวิภาคศาสตร์)|เลนส์]] และ[[กระจกตา]] เป็นโครงสร้างที่ไม่มีหลอดเลือด จัดอยู่ในประเภท อะแวสคิวลาร์ (''avascular'')
'''<big>หลอดเลือดแดง ( Artery )</big>'''
 
เมื่อไปถึงเซลล์จะมีการแลกเปลี่ยนอาหารและก๊าซต่างๆ ถ้านำหลอดเลือดในร่างกายมาต่อกันจะมีความยาวประมาณ 62,000 ไมล์หลอดเลือดในร่างกาย{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
== โครงสร้าง ==
{{จัดรูปแบบ}}
หลอดเลือดประกอบด้วยผนัง 3 ชั้น ได้แก่
 
# '''ทูนิกา อินทิมา (tunica intima)''' : เป็นผนังชั้นในสุดของหลอดเลือด
# '''ทูนิกา มีเดีย (tunica media)''' : เป็นผนังชั้นกลางของหลอดเลือด ประกอบด้วย[[กล้ามเนื้อเรียบ]]และ[[เนื้อเยื่ออิลาสติก]] (elastic tissue) เรียงตัวกันเป็นวงรอบหลอดเลือด
# '''ทูนิกา แอดเวนติเชีย (tunica adventitia)''' : เป็นผนังชั้นนอกสุดของหลอดเลือด ประกอบด้วย[[เส้นใยอิลาสติก]] (elastic fiber), เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue) และ กล้ามเนื้อเรียบ เรียงตัวไปตามความยาวของหลอดเลือด
 
=== ประเภท ===
'''==== หลอดเลือด''' ({{lang-en|Blood vessel}})แดง ====
'''หลอดเลือดแดง ( Artery )''' หมายถึง หลอดเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจ ซึ่งจะเป็นเลือดที่มีปริมาณออกซิเจนสูงเป็นเลือดที่มีสีแดงสด ไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย ( ยกเว้นหลอดเลือดที่ไปสู่ปอดชื่อ pulmonary artery ซึ่งจะนำเลือดดำจากหัวใจที่มีคาร์บอนไดออกไซด์สูงไปฟอกที่ปอด )
 
เส้น 27 ⟶ 46:
– อาร์เทอริโอล ( arteriole ) หลอดเลือดแดงเล็ก ซึ่งสามารถจะขยายตัวหรือหดตัวได้ เพื่อบังคับการไหลของเลือด
 
<big>'''==== หลอดเลือดดำ''' '''( Vein''' )</big>====
 
'''หลอดเลือดดำ ( Vein''' ) หมายถึง หลอดเลือดที่นำเลือดที่มีของเสีย และคาร์บอนไดออกไซด์ ( เลือดดำ ) ที่ร่างกายใช้แล้วจากส่วนต่างๆ ของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา ( Right atrium ) เพื่อนำกลับไปฟอกที่ปอด ( ยกเว้นหลอดเลือดดำปอดที่ชื่อ pulmonary vein ซึ่งจะนำเลือดแดงที่ผ่านการฟอกจากปอดแล้วนำกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย ) ภายในหลอดเลือดดำจะมีความดันต่ำ ถ้าหลอดเลือดดำฉีกขาด เลือดที่ไหลออกมาจะไหลรินๆคงที่ และสม่ำเสมอ ห้ามเลือดหยุดได้ง่ายกว่าหลอดเลือดแดงฉีกขาด
 
เส้น 39 ⟶ 57:
– มีลิ้นกั้นไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ
 
<big>'''==== หลอดเลือดฝอย Capillary'''</big>====
 
'''หลอดเลือดฝอย ( Capillary''' ) หมายถึง หลอดเลือดที่เชื่อมต่อระหว่างหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ไปยังหลอดเลือดดำขนาดเล็ก โดยจะแทรกอยู่ในเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย เช่น ผิวหนัง กล้ามเนื้อ สมอง และอวัยวะอื่นๆ ยกเว้นเส้นผม และเล็บจะไม่มีหลอดเลือดฝอย
 
เส้น 51 ⟶ 68:
– ประกอบด้วยเซลล์เพียงชั้นเดียว มีหน้าที่เป็นแหล่งที่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ และสารต่างๆระหว่างเลือดกับเซลล์ของร่างกายโดยวิธีการแพร่
 
== อ้างอิง ==
== ผนังหลอดเลือด ==
{{รายการอ้างอิง}}
หลอดเลือดประกอบด้วยผนัง 3 ชั้น ได้แก่
 
# '''ทูนิกา อินทิมา (tunica intima)''' : เป็นผนังชั้นในสุดของหลอดเลือด
# '''ทูนิกา มีเดีย (tunica media)''' : เป็นผนังชั้นกลางของหลอดเลือด ประกอบด้วย[[กล้ามเนื้อเรียบ]]และ[[เนื้อเยื่ออิลาสติก]] (elastic tissue) เรียงตัวกันเป็นวงรอบหลอดเลือด
# '''ทูนิกา แอดเวนติเชีย (tunica adventitia)''' : เป็นผนังชั้นนอกสุดของหลอดเลือด ประกอบด้วย[[เส้นใยอิลาสติก]] (elastic fiber), เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue) และ กล้ามเนื้อเรียบ เรียงตัวไปตามความยาวของหลอดเลือด
 
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 63 ⟶ 75:
 
[[หมวดหมู่:ระบบไหลเวียนโลหิต]]
 
{{โครงกายวิภาค}}
{{โครงชีววิทยา}}