ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พายุโซนร้อนปาบึก (พ.ศ. 2562)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pluto p (คุย | ส่วนร่วม)
Pluto p (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 43:
ในประเทศไทยมีความเสียหายจากอุทกภัย และวาตภัยในช่วงกลางคืน ต้นไม้หักโค่นจำนวนมาก<ref name="kills 3">{{cite web|url=https://www.cnn.com/2019/01/04/asia/thailand-tropical-storm-pabuk-intl/index.html|title=Storm kills 3 in Thailand, moves into Andaman Sea|author=Kocha Olarn|publisher=Cable News Network|date=5 January 2019|accessdate=7 May 2019}}</ref> โดยพายุปาบึกทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวน 8 คนในประเทศไทย หนึ่งในนั้นเป็นนักท่องเที่ยวชาวรัสเซีย<ref name="Pabuk THI death">{{cite news|url=https://thethaiger.com/news/national/thai-preparedness-limits-pabuk-damage|title=Thai preparedness limits Pabuk damage|publisher=The Thaiger|date=January 11, 2019|accessdate=January 11, 2019}}</ref><ref name="RUS death">{{cite news|last=Panpetch|first=Sumeth|url=https://www.apnews.com/b1815f21df7a478b9e1706ad231a2780|title=Thailand braces for powerful storm at southern beach towns|publisher=Associated Press|date=January 3, 2019|accessdate=January 4, 2019}}</ref> โดย 3 คนเสียชีวิตจากเศษที่ปลิวโดยลมและน้ำขึ้นจากพายุ<ref>{{cite news|url=https://www.nytimes.com/2019/01/04/world/asia/tropical-storm-pabuk-thailand.html|title=Tropical Storm Pabuk Strikes Thailand’s Resort Islands|publisher=The New York Times|date=4 January 2019|accessdate=7 May 2019}}</ref> ปาบึกทำให้เกิดความเสียหายในประเทศไทยประมาณ 5 พันล้านบาท (156 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)<ref>{{cite news|last=Nguyen|first=Anuchit|url=https://www.bloomberg.com/amp/news/articles/2019-01-05/thai-tropical-storm-weakens-after-thrashing-southern-region|title=Thai Tropical Storm Weakens After Thrashing Southern Region|publisher=Bloomberg|date=4 January 2019|accessdate=5 January 2019}}</ref>
 
[[ไฟล์:Accumulative_precipitation_2019Jan4-5_Southern_part_of_Thaiand.png|thumb|right|ปริมาณน้ำฝนสะสมจากอิทธิพลของพายุโซนร้อนปาบึกช่วงวันที่ 3-7 มกราคม ในพื้นที่ภาคใต้]]
 
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้รายงานความเสียหายจากอิทธิพลของพายุโซนร้อนปาบึก ว่ามีพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบรวม 18 จังหวัด 90 อำเภอ 407 ตำบล 2,635 หมู่บ้าน 133 ชุมชน ประชาชนได้รับผลกระทบ 212,784 ครัวเรือน 696,189 คน มีผู้เสียชีวิต 3 ราย สูญหาย 1 ราย
<ref>[http://news.ch3thailand.com/local/84958"ปภ.สรุปพายุ"ปาบึก"เสียหาย 18 จังหวัด สังเวย 3 ศพ"] หมวดข่าว:ในประเทศ วันที่ 06 ม.ค. 62 เวลา 17:32:00 น.</ref> และมีการอพยพประชาชนกว่า 31,665 คน ไปยังศูนย์อพยพชั่วคราว 123 แห่ง
รวมถึงการอพยพเคลื่อนย้ายพนักงานเจ้าหน้าที่จาก 3 แท่นขุดเจาะแก๊สธรรมชาติในอ่าวไทย ได้แก่ [[แหล่งบงกช]] [[แหล่งบงกชใต้]] และ[[แหล่งอาทิตย์]] กลับขึ้นฝั่งที่จังหวัดสงขลาในวันที่ 2 มกราคม
<ref>[https://news.thaipbs.or.th/content/276710 "อพยพ จนท.แท่นขุดเจาะกลางอ่าวไทยขึ้นฝั่งหนีพายุปาบึก"]สำนักข่าวไทย พีบีเอส 2 มกราคม 2562</ref>
 
อิทธิพลของพายุโซนร้อนปาบึกก่อให้เกิดฝนตกหนักหลายพื้นที่ โดยปริมาณน้ำฝนสูงสุดที่วัดได้ ในวันที่ 3 มกราคม ที่[[อำเภอสะบ้าย้อย]] จังหวัดสงขลา มีปริมาณ 271.0 มิลลิเมตร ส่วนวันที่ 4 มกราคมวัดได้ที่ [[อำเภอพิปูน]] นครศรีธรรมราช 224.5 มิลลิเมตร
นอกจากนี้ยังมีรายงานคลื่นสูงและน้ำทะเลหนุนสูงเข้าสู่ชายฝั่งในพื้นที่[[จังหวัดระยอง]] [[จันทบุรี]] [[ชลบุรี]] [[ตราด]] [[สมุทรสาคร]] [[สมุทรสงคราม]] และ[[สมุทรปราการ]]
<ref>[https://mgronline.com/qol/detail/9620000001724 "สรุปพิษ “พายุปาบึก” กระทบ 18 จังหวัด เกือบ 7 แสนคน หลายพื้นที่ยังมีน้ำไหลหลาก"]ผู้จัดการออนไลน์ เผยแพร่: 6 ม.ค. 2562 15:32</ref>
โดยข้อมูลเชิงอุตุนิยมวิทยาพบว่าในวันที่ 3 มกราคม ชายฝั่งภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดพัทลุงลงไปมีความสูงคลื่น 3-5 เมตร ส่วนชายฝั่งบริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราชและสุราษฎร์ธานี มีคลื่นสูงเพิ่มขึ้นเป็น 3-5 เมตร ในวันที่ 4 มกราคม จากนั้นในวันที่ 5 มกราคม ชายฝั่งตั้งแต่จังหวัดสงขลาลงไป มีคลื่นลดลงเหลือประมาณ 2-3 เมตร และต่อมาในวันที่ 6 มกราคม 2562 บริเวณชายฝั่งจังหวัดชุมพรและประจวบคีรีขันธ์ มีคลื่นสูง 2-4 เมตร
 
ปริมาณน้ำฝนสูงสุดที่วัดได้ในวันที่ 3 มกราคม ที่[[อำเภอสะบ้าย้อย]] จังหวัดสงขลา มีปริมาณ 271.0 มิลลิเมตร วันที่ 4 มกราคมวัดได้ที่ [[อำเภอพิปูน]] นครศรีธรรมราช 224.5 มิลลิเมตร
และวันที่ 5 มกราคม วัดได้ที่[[อำเภอสิชล]] 253.5 มิลลิเมตร และ[[อำเภอเมืองชุมพร]] จังหวัดชุมพร 222.5 มิลลิเมตร
<ref>[http://tiwrmdev.haii.or.th/current/2019/pabuk/pabuk2019.html "บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมจากอิทธิพลของพายุโซนร้อน "ปาบึก" (PABUK)"]</ref>
 
นอกจากนี้ยังมีรายงานคลื่นสูงและน้ำทะเลหนุนสูงเข้าสู่ชายฝั่งอ่าวไทยตอนบน ในพื้นที่[[จังหวัดระยองตราด]] [[จันทบุรี]] [[ชลบุรีระยอง]] [[ตราดชลบุรี]] [[สมุทรสาครสมุทรปราการ]] [[สมุทรสงครามสมุทรสาคร]] และ [[สมุทรปราการสมุทรสงคราม]]
<ref>[https://mgronline.com/qol/detail/9620000001724 "สรุปพิษ “พายุปาบึก” กระทบ 18 จังหวัด เกือบ 7 แสนคน หลายพื้นที่ยังมีน้ำไหลหลาก"]ผู้จัดการออนไลน์ เผยแพร่: 6 ม.ค. 2562 15:32</ref>
โดยข้อมูลเชิงอุตุนิยมวิทยาพบว่าในวันที่ 3 มกราคม ชายฝั่งภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดพัทลุงลงไปมีความสูงคลื่น 3-5 เมตร ส่วนชายฝั่งบริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราชและสุราษฎร์ธานี มีคลื่นสูงเพิ่มขึ้นเป็น 3-5 เมตร ในวันที่ 4 มกราคม จากนั้นในวันที่ 5 มกราคม ชายฝั่งตั้งแต่จังหวัดสงขลาลงไป มีคลื่นลดลงเหลือประมาณ 2-3 เมตร และต่อมาในวันที่ 6 มกราคม 2562 บริเวณชายฝั่งจังหวัดชุมพรและประจวบคีรีขันธ์ มีคลื่นสูง 2-4 เมตร
 
===ประเทศพม่า===