ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟเร็วเขตเมืองมิวนิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนการเรียงลำดับในหมวดหมู่:รถไฟเร็วเขตเมืองมิวนิก ให้เรียงด้วย ด้วยฮอทแคต
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
| image2 = ET 423 244 MHAB.jpg
| imagesize2 = 300px
| caption2 = รถไฟเอ็ส-บาน ที่สถานีฮักเกอร์บรึคเค่อการ์บรึคเคอ (รุ่น [[DBAG Class 423|Br 423]])
| owner =
| area served =
บรรทัด 26:
| track_gauge = {{track gauge|sg}} ([[สแตนดาร์ดเกจ]])
| el = 15 [[โวลต์|kV]], 16.7 [[Hz]] [[ไฟฟ้ากระแสสลับ|AC]] ([[ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว|เหนือหัว]])
| operator = เอ็ส-บานมึนเช่นเชิน
| character =
| map = [[Image:Netzplan S-Bahn München.svg|300px|แผนผังเส้นทางระบบรถไฟเร็วเขตเมืองมิวนิก]]
บรรทัด 33:
}}
 
'''รถไฟเร็วเขตเมืองมิวนิก''' หรือ '''เอ็ส-บาน มึนเชิน''' ({{lang-de|S-Bahn München}}) เป็น[[ระบบขนส่งมวลชน]][[ระบบจ่ายไฟฟ้าแก่ทางรถไฟ|ระบบรางไฟฟ้า]]ในเมือง[[มิวนิก]] [[ประเทศเยอรมนี]] มีคุณสมบัติเป็นทั้ง[[ระบบขนส่งมวลชนเร็ว]]และ[[รถไฟชานเมือง]] ดำเนินงานโดย "เอ็ส-บานมึนเช่นเชิน" บริษัทลูกของ [[DB Regio Bayern|เดเบ เรกีโอ ไบเอิร์น]] (DB Regio Bayern) ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ[[ด็อยท์เชอบาน|การรถไฟเยอรมัน]] (Deutsche Bahn) นอกจากนี้ยังเข้าร่วม "สมาคมอัตราโดยสารและขนส่งมิวนิก" (Münchner Verkehrs- und Tarifverbund ย่อว่า MVV) และเชื่อมต่อกับระบบ[[รถไฟใต้ดินมิวนิก]]ที่ดำเนินงานโดยบริษัทท้องถิ่น
 
"เอ็ส-บานมึนเช่นเชิน" ก่อตั้งเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม ค.ศ. 1972 เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามในการจัดหาระบบขนส่งที่เหมาะสมและเพียงพอเพื่อรองรับงานกีฬา[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1972]] ที่มิวนิกได้เป็นเจ้าภาพ ด้วยการเชื่อมระบบรถไฟชานเมืองที่มีอยู่เข้าด้วยกันโดยการสร้างอุโมงค์รถไฟใต้เขตเมืองเก่า จาก[[สถานีรถไฟหลักมิวนิก]] (München Haupfbahnhof) ถึงสถานีมิวนิกตะวันออก (München Ostbahnhof) ซึ่งเชื่อมระบบรถไฟชานเมืองทั้งสองฝั่งที่แต่เดิมแบ่งเป็นฝั่งตะวันออกและตะวันตก
 
== เส้นทาง ==