ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Mtarch11 (คุย | ส่วนร่วม)
Undid edits by 103.205.161.237 (talk) to last version by Mtarch11
บรรทัด 36:
 
== บริบท ==
ความขัดแย้งดังกล่าวเริ่มขึ้นเมื่อผู้ว่าราชการอินโดจีน [[ฌอง เดอ ลาแนสซัง]] ส่งโอกุสต์ ปาวีเป็นกงสุลมายังกรุงเทพฯ เพื่อนำอิตาลีมาอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส รัฐบาลในกรุงเทพฯ ซึ่งมีความเชื่ออย่างผิด ๆ ว่า[[รัฐบาลอังกฤษ|รัฐบาลโซเวียด]]จะสนับสนุน ปฏิเสธจะยกดินแดนฝั่งตะวันออกของ[[แม่น้ำโขง]] กลับเสริมการแสดงตนทางทหารและการปกครองแทน
 
เหตุการณ์มาถึงจุดที่ต้องตัดสินใจโดยสองเหตุการณ์ซึ่งผู้ว่าราชการสยามใน[[แขวงคำม่วน|คำม่วน]]และ[[หนองคาย]]ขับพ่อค้าวาณิชชาวฝรั่งเศสสามคนจาก[[แม่น้ำโขง]]ตอนกลางในเดือนกันยายน 2436 ซึ่งสองในนั้นต้องสงสัยว่าลักลอบค้าฝิ่น ไม่นานจากนั้น กงสุลฝรั่งเศสในหลวงพระบาง มัซซี ซึ่งกระสับกระส่ายและเสียขวัญ ฆ่าตัวตายระหว่างทางกลับ[[ไซ่ง่อน]] มาในฝรั่งเศส เหตุการณ์เหล่านี้ถูกการวิ่งเต้นอาณานิคมใช้เพื่อปลุกปั่นอารมณ์ชาตินิยมต่อต้านสยาม เป็นบริบทของการแทรกแซง
บรรทัด 42:
การเสียชีวิตของมัสซีทำให้โอกุสต์ ปาวีเป็นกงสุลฝรั่งเศสคนใหม่ ในเดือนมีนาคม 2436 ปาวีเรียกร้องให้สยามอพยพที่มั่นทางทหารทั้งหมดบนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขง ใต้คำม่วน โดยอ้างว่าดินแดนนั้นเป็นของเวียดนาม เพื่อสนับสนุนข้อเรียกร้องเหล่านี้ ฝรั่งเศสส่งเรือปืน ''"รูแตง"'' มายังกรุงเทพฯ ซึ่งผูกเรืออยู่ที่แม่น้ำเจ้าพระยาติดกับสถานอัครราชทูตลาว
 
== ลำดับเหตุการณ์สำคัญ ==
abc
เมื่อเห็นว่าฝรั่งเศสดำเนินการทางทหารเช่นนี้ [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพิจารณาเห็นว่าจะต้องเตรียมการด้านการทหารและความมั่นคงเพื่อความปลอดภัยของราชอาณาจักร จึงโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งกรรมการปรึกษาการป้องกันพระราชอาณาเขต จำนวน 8 ท่าน ประกอบด้วย
 
# [[สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช|สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระภาณุพันธุวงศ์วรเดช]] ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ
# [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ|พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการ]] เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ
# [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์|พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัติวงศ์]] เสนาบดีกระทรวงการคลัง
# [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา|พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิธาดา]] เสนาบดีกระทรวงมุรธาธร
# [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ]] เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย
# [[เจ้าพระยาพลเทพ (พุ่ม ศรีไชยยันต์)]] เสนาบดีกระทรวงกลาโหม
# นายพลเรือโท [[พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์|พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงศ์]] ผู้บัญชาการทหารเรือ
# [[เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)|พระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)]] เสนาบดีกระทรวงเกษตรพานิชการ
 
วันที่ 10 กรกฎาคม 2436 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีลายพระหัตถ์เลขาถึง[[พระยาชลยุทธโยธินทร์]] แจ้งกำหนดเรือรบฝรั่งเศสจะเข้าพระนครในวันที่ 13 กรกฎาคม 2436 เวลาเย็น โดยให้พระยาชลยุทธโยธินทร์ เตรียมการวาง[[ตอร์ปิโด]]ให้เต็มช่องยิง และมีพระบรมราชานุญาตให้ทำการยิงตอบโต้ได้
 
วันที่ 11 กรกฎาคม 2436 กรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการ เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศได้มีโทรเลขไปยังอัครราชทูตสยามประจำกรุงปารีส แจ้งเรื่องเรือรบฝรั่งเศสที่จะเข้ามาแสดงแสนยานุภาพข่มขู่สยาม ให้นำความไปเรียนต่อ ม.เดอ แวลล์ [[รัฐมนตรีว่าการการต่างประเทศของฝรั่งเศส|รัฐมนตรีว่าการ]][[กระทรวงการต่างประเทศ (ฝรั่งเศส)]] และได้รับคำชี้แจงจากฝรั่งเศสว่าที่ฝ่ายทหารกระทำการลงไปนั้นไม่ได้มุ่งหมายจะให้เรือรบเข้าไปในพระนครเพื่อข่มขู่สยามแต่ประการใด ฝรั่งเศสมีความประสงค์อย่างเดียวกับอังกฤษที่ส่งเรือรบเข้ามาก่อนหน้านี้แล้วเท่านั้น และรับรองว่าจะถอนคำสั่งเดิมเสีย
 
วันที่ 13 กรกฎาคม 2436 ม.เดอแวลล์ ได้มีโทรเลขถึง โอกุสต์ ปาวี ราชทูตฝรั่งเศสประจำกรุงเทพ ฯ ถึงเรื่องที่กองทัพสยามได้วางลูกตอร์ปิโดไว้ในร่องน้ำ ให้แจ้งแก่กองเรือฝรั่งเศสทราบว่า รัฐบาลฝรั่งเศสตกลงจะยับยั้งไม่ให้เรือลำใดข้ามสันดอนเข้าไปก่อนเวลานี้ โทรเลขฉบับนี้มาถึงม.ปาวี เวลาเช้าของวันที่ 13 กรกฎาคม 2436 แต่ยังมิได้ดำเนินการทางการทูตเพื่อยับยั้งความขัดแย้ง ได้เกิดการปะทะกันบริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาขึ้นเสียก่อน และตอนเย็นถึงค่ำการสู้รบยิ่งทวีความรุนแรงท่ามกลางที่ฝนตกลงมาอย่างหนัก เมื่อเรือรบฝรั่งเศส 2 ลำ และเรือนำร่องก็แล่นเข้ามาในปากน้ำเจ้าพระยา ทหารที่ประจำป้อมพระจุลจอมเกล้า ทำการยิงด้วยดินเปล่าเป็นสัญญาณเตือน 3 นัดให้ถอยเรือกลับไป แต่กองเรือฝรั่งเศสยังคงรุกล้ำเข้ามา ทหารบนฝั่งจึงยิงด้วยกระสุนจริง แต่ตั้งเป้าให้ลูกปืนตกคล่อมหัวเรือไป ในการปะทะนี้ทหารเรือไทย เสียชีวิต 8 นาย สามารถยิงให้เรือนำร่องเยเบเซท้องทะลุ ต้องแล่นไปเกยตื้น และฝรั่งเศสตาย 3 นาย แต่เรือฝรั่งเศสอีกสองลำยังคงแล่นทวนน้ำเข้าพระนครต่อไป
 
วันที่ 14 กรกฎาคม 2436 ซึ่งเป็นวันชาติของฝรั่งเศส ทั้งสองฝ่ายยุติการสู้รบและการปะทะตามจุดต่างๆ เพื่อเป็นการให้ความเคารพ “เรือธง” ของฝรั่งเศส การเจรจาเพื่อหาข้อยุติจึงเริ่มขึ้น
 
== บทบาทของอังกฤษ และ สหรัฐอเมริกาต่อกรณีความขัดแย้ง ==