ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2563"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| ทางเดินพายุ=2020 Atlantic hurricane season summary map.png
| ระบบแรกก่อตัว=16 พฤษภาคม พ.ศ. 2563
| ระบบสุดท้ายสลายตัว=ฤดูกาลยังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
| ชื่อพายุมีกำลังมากที่สุด=ลอราไอโอตา
| ความกดอากาศของพายุมีกำลังมากที่สุด=937917<!--mbar-->
| ลมของพายุมีกำลังมากที่สุด=130140<!--นอต-->
| ความเร็วลมโดยเฉลี่ย=1<!--นาที-->
| พายุดีเปรสชันทั้งหมด=2431 ลูก ({{small|สถิติสูงสุด, เท่ากับฤดู [[ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2548|2548]]}})
| พายุโซนร้อนทั้งหมด=2330 ลูก ({{small|สถิติสูงสุด}})
| พายุไต้ฝุ่นทั้งหมด=813 ลูก<!--พายุเฮอริเคน-->
| พายุรุนแรงทั้งหมด=26 ลูก<!--พายุเฮอริเคนขนาดใหญ่ 3+-->
| อักขระอุปสรรคของความเสียหาย=>
| ความเสียหาย=1823641030
| ผู้เสียชีวิต=137≥ 409 คน
| ห้าฤดูกาล=[[ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2561|2561]], [[ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2562|2562]], '''2563''', [[ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2564|2564]], [[ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2565|2565]]
}}
'''ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2563''' คือช่วงของฤดูกาลในอดีตที่เคยมีการก่อตัวของ[[พายุหมุนเขตร้อน]]ใน[[ซีกโลกเหนือ]]ของมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นฤดูที่มีกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนมากที่สุดและสร้างความเสียหายสูงเป็นอันดับที่เจ็ดของแอ่งแอตแลนติกเหนือ นับเป็นฤดูกาลที่ห้าติดต่อกันแล้ว ที่มีกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนในแอ่งแอตแลนติกเหนือสูงกว่าค่าเฉลี่ยนับแต่ฤดู [[ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559|2559]] แต่นับเป็นฤดูแรกที่มีกิจกรรมของพายุเป็นอย่างมากนับแต่ฤดู [[ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2560|2560]] โดยฤดูกาลนี้ประกอบด้วย พายุหมุนเขตร้อนและพายุหมุนกึ่งเขตร้อนรวม 31 ลูก ซึ่งพายุหมุนทุกลูกยกเว้นพายุดีเปรสชันเขตร้อนสิบ ทวีกำลังแรงขึ้นในลำดับถัดไปทั้งสิ้น ดังนั้นจึงมีพายุดีเปรสชันทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนทั้งสิ้น 30 ลูก ในจำนวนนี้ 13 ลูกได้ทวีกำลังแรงต่อเป็นพายุเฮอริเคน และในจำนวนนี้ 6 ลูกมีกำลังเป็นพายุเฮอริเคนขนาดใหญ่ โดยที่มีกำลังแรงที่สุดคือ ไอโอตา มีกำลังเป็นพายุระดับ 5 ตาม[[มาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน]]{{#tag:ref|พายุเฮอริเคนที่มีกำลังบรรลุระดับ 3 ({{convert|111|mph|km/h|disp=or|sp=us}}) และสูงกว่าตาม[[มาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน]]ที่แบ่งออกเป็นห้าระดับนั้น จะถูกพิจารณาเป็นพายุเฮอริเคนขนาดใหญ่<ref>{{cite web|title=Saffir-Simpson Hurricane Wind Scale|url=https://www.nhc.noaa.gov/aboutsshws.php|publisher=National Hurricane Center|location=Miami, Florida|access-date=September 13, 2020|archive-date=June 20, 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20200620093804/https://www.nhc.noaa.gov/aboutsshws.php|url-status=live}}</ref>|group="nb"}} และเป็นฤดูกาลที่สองที่มีการนำระบบการตั้งชื่อพายุด้วยชื่อของตัวอักษรกรีกมาใช้ (ครั้งแรกในฤดู [[ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2548|2548]]) ในบรรดาพายุที่ได้รับชื่อทั้ง 30 ลูก มีพายุอยู่จำนวน 12 ลูกที่พัดขึ้นฝั่ง[[สหรัฐอเมริกาที่ติดกัน]] (รัฐที่อยู่ติดกันของ[[สหรัฐ]]) ซึ่งทำลายสถิติของการพัดขึ้นฝั่ง 9 ลูกในฤดู [[ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2459|2459]] นอกจากนี้ยังเป็นฤดูกาลที่ห้าติดต่อกันแล้วที่มีพายุเฮอริเคนระดับ 5 อย่างน้อยหนึ่งลูก ในระหว่างฤดูกาล พายุโซนร้อนจำนวน 27 ลูกได้ทำลายสถิติการก่อตัวแรกสุดไปตามจำนวนพายุ ฤดูกาลนี้ยังมีพายุหมุนเขตร้อนที่มี[[การทวีกำลังแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว]]เป็นประวัติการณ์ที่ 10 ลูก เทียบเท่ากับฤดู [[ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2538|2538]]<ref>https://twitter.com/splillo/status/1327853652858470400</ref> โดยกิจกรรมที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนนี้เกิดจาก[[ลานีญา]] ที่ก่อตัวขึ้นในช่วงฤดูร้อนของปี 2563
'''ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2563''' คือช่วงของฤดูกาลในปัจจุบัน ที่กำลังมีการก่อตัวของ[[พายุหมุนเขตร้อน]]ใน[[ซีกโลกเหนือ]]ของมหาสมุทรแอตแลนติก ฤดูกาลอย่างเป็นทางการนั้นเริ่มนับในวันที่ 1 มิถุนายน และสิ้นสุดในวันที่ 30 พฤศจิกายน วันเหล่านี้เป็นขอบระยะเวลาตามประวัติศาสตร์ที่จะมีพายุก่อตัวขึ้นมากที่สุดใน[[มหาสมุทรแอตแลนติก|แอ่งแอตแลนติก]] อย่างไรก็ตาม[[การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน|การก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน]]สามารถก่อตัวได้ทุกเวลาในปี
 
ฤดูกาลอย่างเป็นทางการนั้นเริ่มนับในวันที่ 1 มิถุนายน และสิ้นสุดในวันที่ 30 พฤศจิกายน วันเหล่านี้เป็นขอบระยะเวลาตามประวัติศาสตร์ที่จะมีพายุก่อตัวขึ้นมากที่สุดใน[[มหาสมุทรแอตแลนติก|แอ่งแอตแลนติก]] อย่างไรก็ตาม[[การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน|การก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน]]สามารถก่อตัวได้ทุกเวลาในปี ดังที่ปรากฏในฤดู 2563 จากการก่อตัวของพายุโซนร้อนอาร์เทอร์และพายุโซนร้อนเบอร์ทา ในวันที่ 16 และ 27 พฤษภาคม ตามลำดับ จึงถือว่าเป็นฤดูกาลที่หกติดต่อกันแล้วที่มีพายุก่อตัวในลักษณะก่อนฤดูกาล (pre-season systems) ต่อมาพายุกริสโตบัลได้ก่อตัวขึ้นในวันแรกของเดือนมิถุนายน และทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวน 15 คน ปลายเดือนกรกฎาคม พายุแฮนนา ได้เป็นพายุเฮอริเคนลูกแรกของฤดูกาล และพัดขึ้นฝั่งที่[[รัฐเท็กซัส|เซาท์เท็กซัส]] ตามด้วยพายุเฮอริเคนไอเซอัส ที่พัดขึ้นฝั่งที่[[บาฮามาส]]และ[[รัฐนอร์ทแคโรไลนา]] โดยพายุทั้งสองมีความรุนแรงเป็นพายุเฮอริเคนระดับ 1 และสร้างความเสียหายไว้รวม 4.725 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ{{#tag:ref|มูลค่าความเสียหายทั้งหมดเป็นค่าเงิน[[ดอลลาร์สหรัฐ]]ปี 2020 เท่านั้น เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอื่น|group="nb"}} ปลายเดือนสิงหาคม พายุลอราพัดขึ้นฝั่งที่[[รัฐลุยเซียนา]] เป็นพายุเฮอริเคนระดับ 4 และกลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรงที่สุดในแง่ความเร็วลมที่พัดขึ้นฝั่งรัฐลุยเซียนา ควบคู่กับพายุเฮอริเคนลาสต์ไอส์แลนด์ในปี 2399<ref name="LastIsland"/> พายุลอราสร้างความเสียหาย 1.41 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ และมีผู้เสียชีวิตจำนวน 77 คน เดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนมากที่สุดในสถิติของแอ่งแอตแลนติก โดยมีพายุได้รับชื่อจำนวนสิบลูก เริ่มจาก พายุนานา ซึ่งมีอิทธิพลต่อ[[ประเทศเบลีซ]]ในฐานะพายุเฮอริเคนระดับ 1, พายุเฮอริเคนพอเลตต์พัดขึ้นฝั่งที่[[เบอร์มิวดา]] ซึ่งนับเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ฤดู [[ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2557|2557]] ก่อนจะมีการเปลี่ยนผ่านไปเป็น[[พายุหมุนนอกเขตร้อน]] จากนั้นได้มีการก่อตัวขึ้นใหม่ (reformed) ใกล้กับ[[อะโซร์ส]]และมีการเคลื่อนไหวอยากผิดปกติ ก่อนจะสลายตัวไปในวันที่ 23 กันยายน, พายุเฮอริเคนแซลลีส่งผลกระทบกับรัฐใน[[ชายฝั่งอ่าวของสหรัฐ]] ส่งผลให้เกิดอุทกภัยอย่างหนัก ขณะที่พายุเฮอริเคนเทดดีได้ส่งผลกระทบกับเบอร์มิวดา ก่อนจะส่งผลกระทบกับ[[แอตแลนติกแคนาดา]] (ด้าน[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]ของ[[ประเทศแคนาดา]]) ในฐานะพายุหมุนนอกเขตร้อน จากนั้นจึงได้เริ่มมีการนำชื่อตัวอักษรกรีกมาใช้เป็นชื่อพายุ เริ่มต้นด้วย พายุกึ่งโซนร้อนแอลฟาซึ่งพัดขึ้นฝั่ง[[ประเทศโปรตุเกส]] เดือนตุลาคมเริ่มต้นด้วยพายุโซนร้อนแกมมาและพายุเฮอริเคนเดลตา ซึ่งทั้งคู่ได้ส่งผลกระทบกับ[[คาบสมุทรยูกาตัน]]ของ[[ประเทศเม็กซิโก]] โดยต่อมาพายุเดลตาได้ส่งผลกระทบกับรัฐลุยเซียนา จึงกลายเป็นพายุลูกที่ 10 ที่พัดเข้าสหรัฐในฤดูกาลนี้ นอกจากนี้ พายุเฮอริเคนเซตาก็เคลื่อนผ่านคาบสมุทรยูกาตันด้วย ก่อนจะทำลายสถิติเป็นพายุลูกที่ห้าที่พัดขึ้นฝั่งที่รัฐลุยเซียนา จากนั้นจึงกลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนลูกแรกนับตั้งแต่[[พายุเฮอริเคนแซนดี]]ในปี [[ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2555|2555]] ที่สร้างหิมะ<ref name=chronicleherald11022020>{{cite news|last=Day|first=Cindy|title=WEATHER U: The science behind the snowicane|date=November 2, 2020|url=https://www.thechronicleherald.ca/weather/weather-university/weather-u-the-science-behind-the-snowicane-516066/|newspaper=[[The Chronicle Herald]]|location=Halifax, Nova Scotia|access-date=November 30, 2020}}</ref> ในวันสุดท้ายของเดืิอนตุลาคม พายุเฮอริเคนอีตาก่อตัวขึ้นและส่งผลกระทบกับอเมริกากลางเป็นพายุเฮอริเคนระดับ 4 ในวันที่ 3 พฤศจิกายน<ref>{{Cite tweet|user=philklotzbach|author=Philip Klotzbach|number=1325653045460430848|date=November 8, 2020|title=Tropical Storm #Eta has made landfall in Lower Matecumbe Key, FL|access-date=November 12, 2020}}</ref> และในที่สุดแล้ว พายุอีตาได้ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 189 คน และมีความเสียหาย 6.68 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ หลังจากนั้นไม่นาน พายุโซนร้อนทีตาได้ก่อตัวขึ้น และพายุลูกสุดท้าย พายุไอโอตา ได้ก่อตัวขึ้นในแคริบเบียน ก่อนจะทวีกำลังแรงอย่างรวดเร็ว และกลายเป็นพายุเฮอริเคนระดับ 5 ในวันที่ 16 พฤศจิกายน นอกจากนี้ยังทำให้ฤดู 2563 นี้เป็นฤดูกาลเดียวที่มีพายุเฮอริเคนขนาดใหญ่ 2 ลูกในเดือนพฤจิกายน<ref>{{Cite tweet|user=philklotzbach|author=Philip Klotzbach|number=1328215707763412992|date=November 16, 2020|title=For the first time on record, the Atlantic has had two major #hurricane formations in November|access-date=November 16, 2020}}</ref> โดยพายุไอโอตาทำให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงในอเมริกากลาง ซึ่งเพิ่งได้รับผลกระทบจากพายุอีตาไป
 
ก่อนหน้านั้น ทางการสหรัฐได้แสดงความกังวลว่าฤดูพายุเฮอริเคนจะส่งผลกระทบต่อ[[การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา พ.ศ. 2562–2563|การแพร่ระบาดของโควิด-19]] ในกับประชากรในพื้นที่ชายฝั่งสหรัฐได้<ref>{{Cite web|url=https://www.usatoday.com/story/news/2020/04/02/hurricane-season-in-june-during-coronavirus-pandemic/5111024002/|title=Hurricanes in a pandemic: 'Absolutely that's our nightmare scenario'|last1=Miller|first1=Kimberly|first2=Gareth|last2=McGrath|date=April 6, 2020|orig-year=April 2, 2020|website=usatoday.com|access-date=October 4, 2020|publisher=USA TODAY Network|archive-date=April 3, 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20200403200629/https://www.usatoday.com/story/news/2020/04/02/hurricane-season-in-june-during-coronavirus-pandemic/5111024002/|url-status=live}}</ref><ref>{{Cite web|last=Shepherd|first=Marshall|title=Coronavirus And An Active Hurricane Season Are Bad News – 3 Concerns As Gonzalo Forms|date=July 22, 2020|url=https://www.forbes.com/sites/marshallshepherd/2020/07/22/coronavirus-and-an-active-hurricane-season-are-bad-news3-concerns-as-gonzalo-forms/|access-date=October 4, 2020|website=forbes.com|publisher=Forbes Media|archive-date=July 25, 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20200725040800/https://www.forbes.com/sites/marshallshepherd/2020/07/22/coronavirus-and-an-active-hurricane-season-are-bad-news3-concerns-as-gonzalo-forms/|url-status=live}}</ref> ดังแสดงไว้ในหน้าความเห็นพิเศษ (op-ed) ของ[[เจเอเอ็มเอ|วารสารแห่งสมาคมการแพทย์อเมริกัน]] ความว่า "มีความขัดแย้งกันโดยธรรมระหว่างกลยุทธ์ในการปกป้องประชากรจากอันตรายจากพายุเฮอริเคน นั่นคือ การอพยพ และการหลบภัย (เช่น การขนส่งและการรวบรวมผู้คนเข้ากันเป็นกลุ่ม)" และ "แนวทางการชะลอการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่มีประสิทธิภาพ นั่นคือ การเว้นระยะห่างทางกาย และการสั่งให้อยู่แต่บ้าน (เช่น การแยกและการกีดกันผู้คนออกจากกัน)"<ref>{{cite journal|last1=Schultz|first1=James M.|last2=Fugate|first2=Craig|last3=Galea|first3=Sandro|title=Cascading Risks of COVID-19 Resurgence During an Active 2020 Atlantic Hurricane Season|date=August 12, 2020|url=https://jamanetwork.com/journals/jama/articlepdf/2769564/jama_shultz_2020_vp_200176_1597180318.69802.pdf|journal=Journal of the American Medical Association|volume=324|issue=10|page=935|access-date=October 4, 2020|doi=10.1001/jama.2020.15398|s2cid=221166201|archive-date=August 15, 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20200815171522/https://jamanetwork.com/journals/jama/articlepdf/2769564/jama_shultz_2020_vp_200176_1597180318.69802.pdf|url-status=live}}</ref>
__TOC__
{{clear}}
เส้น 761 ⟶ 765:
*ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย: [[ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2562–2563|2562–2563]], [[ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2563–2564|2563–2564]]
*ฤดูพายุไซโคลนแปซิฟิกใต้: [[ฤดูพายุไซโคลนแปซิฟิกใต้ พ.ศ. 2562–2563|2562–2563]], [[ฤดูพายุไซโคลนแปซิฟิกใต้ พ.ศ. 2563–2564|2563–2564]]
 
==หมายเหตุ==
{{Reflist|group=nb}}
 
== อ้างอิง ==