ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| title = Das Lied der Deutschen
| transcription = ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน
| translation = เพลงแห่งชาวเยอรมัน
| alt_title = เพลงเยอรมนี<br>(Das Deutschlandlied)
| trans_alt_title = เพลงแห่งเยอรมนี
| alt_title_2alt_title_2 = เยอรมันเหนือทุกสรรพสิ่ง<br>(Deutschland überüber alles)
| trans_alt_title_2 = เยอรมนีเหนือทุกสิ่ง
| image = Deutschlandlied.jpg
| image_size = 200
| caption = สำเนาบทร้องเนื้อร้อง "ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน" ลายมือของฮ็อฟมัน ฟอน ฟัลเลอสเลเบน ต้นฉบับอยู่ที่คลังศิลปวัตถุเบอร์ลินกา (Berlinka) เมือง[[กรากุฟ]] [[ประเทศโปแลนด์]] ฟัลเลิร์สเลเบิน<ref>[http://www.faz.net/s/RubEBED639C476B407798B1CE808F1F6632/Doc~E73D9568D79A14F7CB8686D42EC8ACD04~ATpl~Ecommon~Scontent.html FAZ.net: Rückgabe von Beutekunst, Die letzten deutschen Kriegsgefangenen, Online-Artikel v. 26. Juli 2007.] <small> (13 Aug 2007 16:38) </small></ref>
| NAcountry = {{DEU}}
| composer = [[โยเซ็ฟ ไฮเดิน]]
บรรทัด 18:
| readopted = ค.ศ. 1952
| until =
| sound = National anthem of Germany - U.S. Army 1st Armored Division Band.ogg
| sound_title = ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน (บรรเลง)
}}
 
[[เพลงชาติ]][[สหพันธ์สาธารณรัฐของประเทศเยอรมนี]]มีชื่อว่า '''ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน''' ({{lang-de|Das Lied der Deutschen}}, แปลว่า "เพลงแห่งชาวเยอรมัน) หรือในอีกชื่อหนึ่ง คือ '''ดัสด็อยทช์ลันท์ลีท''' ({{lang|de|Das Deutschlandlied}}, แปลว่า "เพลงแห่งเยอรมนี") สำหรับในต่างประเทศในบางครั้งจะรู้จักกันในชื่อ '''"เยอรมันเหนือทุกสรรพสิ่ง"''' ({{lang|de|Deutschland über alles}}) ซึ่งเป็นวรรคแรกและท่อนแยกของเพลงนี้ในบทที่ 1 แต่ชื่อดังกล่าวไม่ใช่ชื่อของเพลงนี้อย่างแท้จริง
{{Listen|type=music|filename=German national anthem performed by the US Navy Band.ogg|title=ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน (บรรเลง)|description=บรรเลงโดย[[วงดุริยางค์กองทัพเรือสหรัฐ]]}}
[[ไฟล์:Nationalhymne der Bundesrepublik Deutschland.svg|thumb|โน๊ตเพลง]]
 
[[เพลงชาติ]][[สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี]]มีชื่อว่า '''ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน''' ({{lang-de|Das Lied der Deutschen}}, แปลว่า "เพลงแห่งชาวเยอรมัน) หรือในอีกชื่อหนึ่ง คือ '''ดัสด็อยทช์ลันท์ลีท''' ({{lang|de|Das Deutschlandlied}}, แปลว่า "เพลงแห่งเยอรมนี") สำหรับในต่างประเทศในบางครั้งจะรู้จักกันในชื่อ '''"เยอรมันเหนือทุกสรรพสิ่ง"''' ({{lang|de|Deutschland über alles}}) ซึ่งเป็นวรรคแรกและท่อนแยกของเพลงนี้ในบทที่ 1 แต่ชื่อดังกล่าวไม่ใช่ชื่อของเพลงนี้อย่างแท้จริง
 
ทำนองของเพลงนี้ประพันธ์โดย[[โยเซ็ฟ ไฮเดิน]] เมื่อปี ค.ศ. 1797 ในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษาของ[[จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] ตั้งแต่นั้นมาทำนองนี้ก็ถูกใช้เป็นเพลงชาติของ[[จักรวรรดิออสเตรีย]] ต่อมาในปี ค.ศ. 1841 [[August Heinrich Hoffmann von Fallersleben|เอากุสท์ ไฮน์ริช ฮ็อฟมัน ฟ็อน ฟัลเลิร์สเลเบิน]] นักภาษาศาสตร์และกวีชาวเยอรมัน ได้ประพันธ์บทร้องชื่อ "ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน" ตามทำนองเพลงของไฮเดิน เนื้อเพลงดังกล่าวถือได้ว่ามีลักษณะเนื้อหาเชิงปฏิวัติในขณะนั้น
เส้น 31 ⟶ 26:
"ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน" ได้รับเลือกให้ใช้เป็นเพลงชาติเยอรมนีเมื่อ ค.ศ. 1922 ในสมัย[[สาธารณรัฐไวมาร์]] ในปี ค.ศ. 1952 ประเทศเยอมนีตะวันตกก็ได้รับเอาเพลงนี้ใช้เป็นเพลงชาติในชื่อ "ด็อยทช์ลันท์ลีท" ({{lang|de|Deutschlandlied}}) โดยขับร้องเฉพาะบทร้องบทที่หนึ่งเท่านั้นในโอกาสที่เป็นทางการ ต่อมาหลังการรวมชาติเยอรมนีในปี ค.ศ. 1991 เพลงนี้ก็ได้กลายเพลงชาติเยอรมนีอย่างสมบูรณ์ โดยใช้เฉพาะบทร้องบทที่ 3 เป็นเนื้อร้องเพลงชาติอย่างเป็นทางการ
 
== ทำนองเพลง ==
[[ไฟล์:Haydn portrait by Thomas Hardy (small).jpg|thumb|left|150160px|โยเซ็ฟ ไฮเดิน วาดโดยโทมัส ฮาร์ดี, ค.ศ. 1792]]
 
ทำนองของเพลง "ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน" เดิมเป็นบทเพลงที่[[โยเซฟ ไฮเดิน]] ประพันธ์ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1797 เพื่อใส่ทำนองให้กับบทกวีชื่อ ''"[[Gott erhalte Franz den Kaiser]]"'' ("ขอพระเจ้าทรงพิทักษ์พระจักรพรรดิฟรานซ์") สำหรับใช้เป็นเพลงถวายพระพรเนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] แห่ง[[ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก]] หลังการเลิกล้มจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี [[ค.ศ. 1806]] เพลงดังกล่าวจึงได้กลายมาเป็นเพลงประจำ[[จักรวรรดิออสเตรีย]]และ[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]]อย่างเป็นทางการในเวลาต่อมาจนกระทั่งระบอบราชาธิปไตยในออสเตรียได้สิ้นสุดลงเมื่อ [[ค.ศ. 1918]]
เส้น 38 ⟶ 33:
ทำนองเพลงดังกล่าวนี้ไม่ใช่แพร่หลายแต่ในออสเตรียและเยอรมนีเท่านั้น ในกลุ่มผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษก็ได้มีการหยิบยืมเอาทำนองเพลงนี้มาแต่เป็นเพลงสดุดี (hymn) ชื่อ "[[กลอเรียสทิงส์ออฟทีอาร์สโปกเกน]]" ("Glorious Things of Thee are Spoken") ซึ่งประพันธ์โดย จอห์น นิวตัน (John Newton)<ref name="Glorious Things">[http://www.hymntime.com/tch/htm/g/l/glorious.htm Glorious Things of Thee Are Spoken<!--Bot-generated title-->]</ref> และเพลง "[[นอตอะโลนฟอร์ไมตีเอมไพร์]]" ("Not Alone for Mighty Empire") ซึ่งแต่งโดย วิลเลียม พี. เมอร์ริลล์ (William P. Merrill)<ref>[http://www.hymntime.com/tch/htm/n/a/nalonfme.htm Not Alone for Mighty Empire<!--Bot-generated title-->]</ref> ในบริบทเช่นนี้ทำให้มีการเรียกชื่อทำนองเพลงนี้ว่า "ออสเตรีย" ("Austria") "[[เพลงสดุดีแบบออสเตรีย]]" ("Austrian Hymn") หรือ "[[เพลงสดุดีจักรพรรดิ]]" ("Emperor's Hymn") <ref name="Glorious Things" />
 
== เนื้อร้อง==
<!--
[[ไฟล์:August Heinrich Hoffmann von Fallersleben.jpg|160px|thumb|เอากุสท์ ไฮน์ริช ฮ็อฟมัน ฟ็อน ฟัลเลิร์สเลเบิน เมื่อ ค.ศ. 1841]]
== ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ ==
ในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] [[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]อยู่ในสภาพอ่อนแอ หลังเหตุการณ์[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]และตามด้วย[[ยุคสงครามนโปเลียน]]ได้ทำให้แผนที่ทางการเมืองของดินแดน[[ยุโรปตอนกลาง]]เปลี่ยนไปจากเดิม อย่างไรก็ตาม หลังการพ่ายแพ้ของ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1]]ในปี [[ค.ศ. 1815]] ความหวังที่มีต่อ[[ยุคเรืองปัญญา]] (The Enlightenment) [[สิทธิมนุษยชน]] [[รัฐบาลสาธารณรัฐ]] [[ประชาธิปไตย]] และ[[เสรีภาพ]] ซึ่งมีความเคลื่อนไหวอย่างมากในช่วงเวลาดังกล่าวก็ถูกทำลายลงเมื่อ[[คองเกรสแห่งเวียนนา]]ได้ทำการฟื้นฟู[[ราชาธิปไตย]]ในดินแดนต่างๆ ของยุโรปอีกครั้ง ซึ่งรวมทั้งดินแดนใน[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ด้วย นอกจากนั้น เจ้าชาย[[คลีเมนส์ เวนเซล ฟอน เมตเตอร์นิค|เมตเตอร์นิค]] อัครมหาเสนาบดี และตำรวจลับของตนก็ได้ใช้อำนาจตาม "กฤษฎีกาคาร์ลสบัด ค.ศ. 1819" ("Carlsbad Decrees of 1819") ใน[[การเซ็นเชอร์]]
In addition, with the [[Carlsbad Decrees]] of 1819, [[Klemens Wenzel von Metternich|Chancellor Prince Metternich]] and his secret police enforced [[censorship]], mainly in universities, to keep a watch on the activities of professors and students, whom he held responsible for the spread of [[radical]] [[liberal]] ideas. Particularly since hardliners among the monarchs were the main adversaries, demands for [[freedom of the press]] and other liberal rights were most often uttered in connection with the demand for a united [[Germany]], even though many revolutionaries-to-be had different opinions whether a [[republic]] or a [[constitutional monarchy]] would be the best solution for [[Germany]].
 
The [[German Confederation]] or German Union (''Deutsches Bund'') was a loose confederation of 39 monarchial states and republican free cities, with a [[Bundesversammlung (German Confederation)|Federal Assembly]] in [[Frankfurt]]. They began to remove internal customs barriers during the Industrial Revolution, though, and the German Customs Union [[Zollverein]] was formed among the majority of the states in 1834. Prior to the Deutschlandlied, Hoffmann wrote a song about the Zollverein<ref>http://www.von-fallersleben.de/text252.html</ref>, also to Haydn's melody, in which he praised the free trade of German goods which brought Germans and Germany closer.
 
After the March Revolution of 1848, the [[German Confederation]] handed over its authority to the [[Frankfurt Parliament]], and Eastern Prussia joined. For a short period of time in the late 1840s, Germany was united within Hoffman's borders, with a democratic constitution in the make, and with the [[Flag of Germany#Revolution and the Frankfurt Parliament|black-red-gold flag]] to represent it. The two big monarchies put an end to this, and later even waged the [[Austro-Prussian War]] against each other.
-->
 
== บทร้องของฮ็อฟมัน ==
[[ไฟล์:August Heinrich Hoffmann von Fallersleben.jpg|thumb|เอากุสท์ ไฮน์ริช ฮ็อฟมัน ฟ็อน ฟัลเลิร์สเลเบิน เมื่อ ค.ศ. 1841]]
 
[[เอากุสท์ ไฮน์ริช ฮ็อฟมัน ฟ็อน ฟัลเลิร์สเลเบิน]] ได้เขียนบทร้องขึ้นบทหนึ่งเมื่อ ค.ศ. 1848 ระหว่างพักผ่อนอยู่ที่เกาะเฮ็ลโกลันท์ (Helgoland) ใน[[ทะเลเหนือ]] ก่อนจะเดินทางต่อไปยัง[[สหราชอาณาจักร]] โดยในการตีพิมพ์บทร้องดังกล่าวพร้อมด้วยโน้ตเพลงนั้น แสดงให้เห็นว่าเขามุ่งหมายที่จะให้บทร้องดังกล่าวใช้ขับร้องตามทำนองเพลง "Gott erhalte Franz den Kaiser" ของไฮเดิน เนื้อหาของบทร้องในบาทแรกของเพลงที่ว่า "Deutschland, Deutschland über alles, über alles in der Welt" (เยอรมนี, เยอรมนีเหนือทุกสิ่ง เหนือสิ่งอื่นใดในโลกา) เป็นคำเรียกร้องต่อบรรดารัฐเยอรมันต่างๆ (ซึ่งขณะนั้นยังแตกเป็นรัฐขนาดเล็กจำนวนหลายรัฐ) ให้รวมกันสร้างเยอรมันที่เป็นหนึ่งเดียวซึ่งมีความสำคัญยิ่งกว่าอิสรภาพของบรรดารัฐเล็กๆ เหล่านั้น และในบทที่ 3 ซึ่งบาทแรกขึ้นต้นว่า "Einigkeit und Recht und Freiheit" (สามัคคี ยุติธรรม เสรีภาพ) เป็นการแสดงความปรารถนาของฮ็อฟมันที่จะเห็นเยอรมนีซึ่งเป็นหนึ่งเดียวและมีเสรีปกครองด้วยหลักนิติรัฐ ไม่ใช่อำนาจปกครองเบ็ดเสร็จของเหล่ากษัตริย์
เส้น 58 ⟶ 43:
 
== เนื้อร้อง ==
{{Listen|type=music|filename=German national anthem performed by the US Navy Band.ogg|title=ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน (บรรเลง)|description=บรรเลงโดย[[วงดุริยางค์กองทัพเรือสหรัฐ]]}}
บทร้องต่อไปนี้เป็นผลงานของเอากุสท์ ไฮน์ริช ฮ็อฟมัน ฟ็อน ฟัลเลิร์สเลเบิน เฉพาะบทร้องบทที่ 3 เท่านั้นที่ใช้เป็นเพลงชาติเยอรมนีในปัจจุบัน
 
เส้น 75 ⟶ 61:
|}
 
== การปรับใช้ในยุคต่างๆของรัฐ ==
ทำนองของเพลงนี้ ถูกใช้เป็นทำนองเพลงชาติจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจนกระทั่งล่มสลายในปีค.ศ. 1918 ประธานาธิบดีเยอรมนี[[ฟรีดริช เอเบิร์ท]] ประกาศใช้ ''เพลงเยอรมนี'' ({{lang|de|''Deutschlandlied''}}) เป็นเพลงชาติเยอรมนีอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม ค.ศ. 1922
=== สาธารณรัฐไวมาร์ ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สมัยนาซีเยอรมนี ===
ในยุค[[นาซีเยอรมนี]] เพลง "ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน" ยังคงใช้เป็นเพลงชาติแต่เพียงเฉพาะบทแรกเท่านั้น และมีการขับร้องเพลง "[[ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด]]" ต่อท้ายด้วยอีกเพลงหนึ่ง ดังแสดงไว้ต่อไปนี้
 
{|
|-
! เพลงชาตินาซีเยอรมนี!! คำแปล
|-valign="top"
|
<poem>
''(Das Lied der Deutschen)''
Deutschland, Deutschland über alles,
Über alles in der Welt,
Wenn es stets zu Schutz und Trutze
Brüderlich zusammenhält.
Von der Maas bis an die Memel,
Von der Etsch bis an den Belt.
 
Deutschland, Deutschland über alles,
Über alles in der Welt.
</poem>
 
 
<poem>
''(Horst Wessel Lied)''
Die Fahne hoch! Die Reihen fest geschlossen!
SA marschiert mit ruhig festem Schritt.
Kameraden, die Rotfront und Reaktion erschossen,
Marschieren im Geist in unseren Reihen mit.
</poem>
|
<poem>
''(ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน)''
เยอรมนี เยอรมนีเหนือทุกสิ่ง
เหนือสิ่งอื่นใดในโลกา
เพื่อปกปกและรักษา เมื่อแผ่นดินนี้
ยังให้เกิดการตั้งมั่นฉันน้องพี่ร่วมกัน
จากแม่น้ำเมิสสู่แม่น้ำเนมาน
จากแม่น้ำอาดีเกสู่ช่องแคบลิตเติลเบลท์
 
เยอรมนี เยอรมนีเหนือทุกสิ่ง
เหนือสิ่งอื่นใดในโลกา
</poem>
 
 
<poem>
''(ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด)''
ชูธงขึ้น ! ทุกคนชิดแถว !
นักรบพายุเดินหน้าอย่างหนักแน่นมั่นคง
สหายของเราถูกพวกแนวร่วมแดงและพวกปฏิการสังหาร
วิญญาณพวกเขาสถิตในแถวและร่วมเดินเคียงข้างพวกเรา
</poem>
|}
 
=== หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ===
{{โครง-ส่วน}}
 
ในยุค[[นาซีเยอรมนี]] เพลง "ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน" ยังคงใช้นี้ถูกเป็นเพลงชาติแต่เพียงเฉพาะบทแรกเท่านั้น และมีการขับร้องเพลง "[[ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด|เพลงฮอสท์ เวสเซิล]]" ต่อท้ายด้วยอีกเพลงหนึ่ง ดังแสดงไว้ต่อไปนี้ในงานหรือโอกาสสำคัญยิ่งยวดอย่างเช่นมหกรรมโอลิมปิก
== สื่อ ==
 
== อ้างอิง ==