ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงสร้างทรงโค้ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
|accessdate=2007-07-18
}}</ref>
โครงสร้างของเพดานโค้งจะทำให้เกิดทำให้เกิดแรงผลัก (thrust) จึงจำเป็นต้องมี “แรงต้าน” ([[:en:Friction|Friction]]) เป็นการโต้ ถ้าเพดานโค้งสร้างใต้ดิน“แรงต้าน” พื้นดินก็จะเป็นตัวต้าน แต่เมื่อสร้างเพดานโค้งบนดิน[[สถาปนิก]]ก็ต้องหาวิธีสร้าง “แรงต้าน” ที่ทำให้เพดานโค้งทรงอยู่ได้ซึ่งก็อาจจะได้แก่กำแพงที่หนาในกรณีที่เป็นเพดานโค้งทรงประทุน หรือ[[ค้ำยัน]]ซึ่งใช้ในสร้าง “แรงต้าน” ในกรณีที่เพดานโค้งมาตัดกัน
 
เพดานโค้งแบบที่ง่ายที่สุดเพดานโค้งประทุน หรือ “เพดานโค้งถังไม้” (barrel vault) หรือบางทีก็เรียก “เพดานโค้งอุโมงค์” ซึ่งเป็นเพดานทรงโค้งครึ่งวงกลม ความยาวของเส้นรอบครึ่งวงกลมของเพดานโค้งแบบนี้จะยาวกว่าเส้นผ่าศูนย์กลาง เมื่อสร้างช่างจะสร้างโครงค้ำยันโค้งชั่วคราวเพื่อเป็นแบบสำหรับวางหินรอบส่วนโค้งที่เรียกว่า “voussoir” ที่ยังรับน้ำหนักตัวเองไม่ได้จนกระทั่งวางจากหินก้อนสุดท้ายตรงกลางโค้งที่เรียกว่า “หินหลักยอดโค้ง” ถ้าเป็นบริเวณที่ไม้หาง่ายช่างก็จะใช้โครงไม้ครึ่งวงกลมสำหรับเป็นแบบวางหินรอบส่วนโค้ง เมื่อเสร็จก็ถอดโครงออกแล้วลากเอาไปสร้างเพดานโค้งช่วงต่อไป ในสมัยโบราณโดยเฉพาะที่ชาลเดีย (Chaldaea) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[อาณาจักรบาบิโลเนีย]] และที่ [[ประเทศอียิปต์|อียิปต์]]ที่ไม้หายากสถาปนิกก็ต้องใช้วิธีอื่นช่วย ในสมัย[[สถาปัตยกรรมโรมันโบราณ|โรมันโบราณ]]สถาปนิก[[โรมัน]]ก็จะโครงสร้างนี้เป็นปกติ{{Fact|date=July 2007}}