ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนอัสสัมชัญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sarm12345 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wasin147 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9145419 สร้างโดย Sarm12345 (พูดคุย) ::::: ย้อนการแก้ไขที่เป็นการก่อกวน
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 42:
'''โรงเรียนอัสสัมชัญ''' (บ้างเรียก '''อัสสัมชัญบางรัก''' หรือ '''อัสสัมชัญกรุงเทพ''', ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่ม[[จตุรมิตรสามัคคี]] ซึ่งประกอบด้วย[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]], [[โรงเรียนเทพศิรินทร์]], โรงเรียนอัสสัมชัญ และ[[โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย]] โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ [[โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม|แผนกประถม]] ซึ่งตั้งอยู่ในซอยสาทร 11 [[ถนนสาทรใต้]] และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 [[ถนนเจริญกรุง]] [[เขตบางรัก]]
 
โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวง[[เอมิล ธีรัชออกัสต์ เจิมจิตร์ผ่องกอลมเบต์]] เมื่อวันที่ 2616 มกราคมกุมภาพันธ์ พ.ศ. 25552428 ที่ใช้เรือนไม้ขนาดเล็ก เป็นที่สอนหนังสือแก่เด็กยากจน และกำพร้า<ref name="Early" /> จนเมื่อมีนักเรียนเข้าศึกษาเพิ่มมากขึ้น บาทหลวงกอลมเบต์จึงได้ขอเรี่ยไรเงินบริจาคเพื่อสร้างอาคารเรียนถาวรซึ่งก็คือ "ตึกเก่า" ขึ้นเป็นหลังแรกของโรงเรียน ในปี พ.ศ. 2444 ภราดา 5 ท่าน โดยการนำของภราดามาร์ติน เดอ ตูรส์ ภราดาอาแบล ภราดาออกุสต์ ภราดาคาเบรียล เฟอร์เร็ตตี และภราดา[[ฟ. ฮีแลร์]] ได้เดินทางมายังกรุงเทพมหานคร เพื่อสานต่องานด้านการศึกษาจากบาทหลวงกอลมเบต์ ทำให้โรงเรียนอัสสัมชัญ กลายเป็นโรงเรียนแห่งแรกในเครือ[[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล|คณะเนรมิตสันติ]]แห่งประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย[[โรงเรียนเซนต์คาเบรียล]] [[โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย]] [[โรงเรียนเซนต์หลุยส์]] และโรงเรียนที่ใช้คำนำหน้าว่า "อัสสัมชัญ" ด้วยกัน 11 แห่ง และ[[มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ|มหาวิทยาลัย 1 แห่ง]]<ref>[http://www.assumption.ac.th/index1.php?detail=contents/aboutac/achistory.php ประวัติโรงเรียนโดยสังเขป], เว็บไซด์โรงเรียนอัสสัมชัญ</ref>
 
ภายหลังการเข้ามาของคณะภราดาเซนต์คาเบรียลทั้งห้า โรงเรียนอัสสัมชัญได้พัฒนาการไปสู่สถานศึกษาของชนชั้นกลางถึงชั้นเจ้านายมากกว่าจะเป็นโรงเรียนของเด็กเข้ารีตหรือลูกกำพร้าตามวัตถุประสงค์เดิมที่บาทหลวงกอลมเบต์ ได้ตั้งไว้ตั้งแต่เริ่ม<ref>[http://www.thedarknesshero.com/tag/%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94/ ทำไมคนฝรั่งเศส จึงปิดบังประวัติศาสตร์ตัวเอง? (บทความโดย ไกรฤกษ์ นานา)], The Darkness Hero . สืบค้นเมื่อ 19/03/2560</ref> อนึ่งปัจจัยสำคัญที่ส่งผล คือ การเรียนการสอนซึ่งเป็นแบบตะวันตกในขณะนั้น และทำเลที่ตั้งซึ่งตั้งอยู่ในเขตเศรษฐกิจสำคัญ นับจากอดีตจนถึงปัจจุบันโรงเรียนมี[[อธิการ]]มาแล้ว 17 คน อธิการคนปัจจุบัน คือ ภราดาวิริยะ ฉันทวโรดม ส่วนผู้อำนวยการโรงเรียนคือ ภราดา ดร.ศักดา สกนธวัฒน์ (ตำแหน่ง อธิการ เปลี่ยนเป็นผู้อำนวยการ นับตั้งแต่ ภราดาอานันท์ ปรีชาวุฒิ ดำรงตำแหน่งในปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา)
 
แต่เดิมโรงเรียนชื่อ "โรงเรียนอาซมซาน กอเล็ศ" ซึ่งแปลมาจากภาษาฝรั่งเศสของคำว่า "Le Collège de l'Assomption" จนในปี พ.ศ. 2453 ภราดาฮีแลร์จึงได้แจ้งไปทางกรมการศึกษาเพื่อขอเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนอาศรมชัญ" แต่[[เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)|พระยาภีท วิริยศิริวิสุทธิสุริยศักดิ์]] อธิบดีกรมศึกษาขณะนั้น แนะนำว่าควรเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนอัสสัมชัญ" ซึ่งกลายเป็นชื่อที่ใช้มาจวบจนถึงทุกวันนี้<ref name="ACname">''น.อ.นพ.เกรียงไกร จิรสิริโรจนากร'', [http://www.komchadluek.net/news/local/106416 โรงเรียนอัสสัมชัญ : พันเรื่องถิ่นแผ่นดินไทย], คมชัดลึก .วันที่ 19/03/2560</ref>
 
โรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นผู้บุกเบิกการ[[แปรอักษร]]ที่นำเข้ามาใช้ในการทำเชียร์ครั้งแรกของประเทศไทย ซึ่งเป็นแนวคิดของมาสเตอร์[[เฉิด สุดารา|นพรุจ โรหิตเสถียร]] จนในเวลาต่อมา ก็ได้มีการเผยแพร่ไปสู่การแปรอักษรทั้งในงาน[[จตุรมิตรสามัคคี]] และ[[งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์]]<ref>[http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9470000024791 รำลึกครบรอบ 1 ปีแห่งการจากไป ของ ดร.สุรพล สุดารา, ผู้จัดการ ออนไลน์ .สืบค้นเมื่อ 10/09/2558]</ref>
 
ปัจจุบันโรงเรียนมีอายุ {{อายุ|2428|2|16}} ปี เป็นโรงเรียนชายที่เก่าแก่ที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ<ref>[http://www.theactkk.net/home/homenew1/print_news.asp?id=3539 10 อันดับโรงเรียนที่ดีที่สุดในประเทศไทย]</ref> และเป็นโรงเรียน[[โรมันคาทอลิก]]แห่งแรกของประเทศ<ref>[http://www.catholic.or.th/events/news/news17/17j01.html ประวัติการศึกษาคาทอลิกในประเทศไทย], แวดวงคาทอลิก</ref> มี[[รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ|ศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน]]รวมแล้วกว่า 5 หมื่นคน ซึ่งคนที่จบจากโรงเรียนอัสสัมชัญจะใช้คำว่า "อัสสัมชนิก"<ref name="OMAC" /> โรงเรียนอัสสัมชัญมีศิษย์เก่าที่เป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงในแขนงต่าง ๆ ทั้ง[[รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ#,ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์|ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]] 2 คน, [[รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ#องคมนตรี|องคมนตรี]] 15 คน<ref>สมาคมอัสสัมชัญ, อุโฆษสาร ๒๐๐๐, ISBM 974-91380-1-5, กรุงเทพฯ : อุดมศึกษา, พ.ศ. 2546, หน้า 45</ref> [[รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ#นายกรัฐมนตรี|นายกรัฐมนตรี]] 4 คน<ref>สมาคมอัสสัมชัญ, อุโฆษสาร ๒๐๐๐, ISBM 974-91380-1-5, กรุงเทพฯ : อุดมศึกษา, พ.ศ. 2546</ref> และ[[รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ#,นักธุรกิจ ผู้บริหาร|นักธุรกิจ ผู้บริหาร]]อีกหลายคน จากการจัดอันดับหัวข้อ "มหาเศรษฐีในไทยประจำปี 2016" ของ[[ฟอร์บส์|ฟอร์บส์ประเทศไทย]] โดยเพียง 10 อันดับแรกก็มีบุคคลหรือทายาทในตระกูลที่เป็นศิษย์เก่าโรงเรียนอัสสัมขัญ ติดอันดับรวม 3 อันดับด้วยกัน<ref name="Billionaire">[http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9590000022247 เกตส์ยังครองมหาเศรษฐีโลก เจ้าพ่อเบียร์ช้างขึ้นแท่นเบอร์ 1 ไทย - ทักษิณอันดับหล่นทรัพย์สินหด 3,500 ล้าน], ผู้จัดการออนไลน์ .สืบค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2558</ref><ref>รายชื่อเศรษฐีและทายาทเพิ่มเติม - [[รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ#นักธุรกิจ ผู้บริหาร|นักธุรกิจ ผู้บริหาร]]</ref>