ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มีเดีย ออฟ มีเดียส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ปรับปรุงเนื้อหาครั้งใหญ่
บรรทัด 13:
| num_employees =
| homepage = {{URL|http://web.archive.org/web/20071126094528/http://www.medias.co.th:80/|http://www.medias.co.th}}
}}{{แยก|มีเดีย สตูดิโอ}}{{กล่องข้อมูล บริษัท
}}
 
{{กล่องข้อมูล บริษัท
| company_name = บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด<br>(Media Studio Company Limited)
| company_logo = Media-Studio_lager.png
เส้น 31 ⟶ 29:
}}
 
'''บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน)''' หรือในสายธุรกิจด้านการผลิตรายการโทรทัศน์ในปัจจุบันคือ '''บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด''' เป็นบริษัทผู้ผลิต[[รายการโทรทัศน์,]] [[สื่อบันเทิง,]] [[สื่อสิ่งพิมพ์]] และ[[โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม]]ในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อ 22 เมษายน พ.ศ. 2527 โดยเริ่มจากการเป็นตัวแทนบริหารการจำหน่ายเวลาโฆษณาให้กับรายการโทรทัศน์ต่าง ๆ จวบจนปี พ.ศ. 2532 ทางบริษัทฯ ได้ริเริ่มขยายขอบเขตทางธุรกิจยิ่งขึ้น โดยซื้อเวลาจากสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ เพื่อดำเนินการผลิตรายการ และจำหน่ายเวลาโฆษณารายการควบคู่กัน<ref name="มีเดียออฟมีเดียส์">{{cite web |url=http://web.archive.org/web/20071111133000/http://www.medias.co.th:80/investor.php# |title=ข้อมูลองค์กร (1) |author=มีเดีย ออฟ มีเดียส์ |website=Medias.co.th |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> แต่ในปัจจุบัน ทางบริษัทฯ เปลี่ยนแปลงการดำเนินธุรกิจเป็นด้านอสังหาริมทรัพย์ โดยเปลี่ยนชื่อเป็น '''[[แกรนด์ คาแนล แลนด์|บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน)]]'''<ref name="แกรนด์คาแนลแลนด์">{{cite web |url=http://www.grandcanalland.com/about.php |title=ABOUT US |author=แกรนด์ คาแนล แลนด์ |website=Grandcanalland.com |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> (ปัจจุบัน แกรนด์ คาแนล แลนด์ กลายเป็นบริษัทลูกในเครือ[[เซ็นทรัลพัฒนา]]) ทั้งนี้ ในส่วนการดำเนินธุรกิจในด้านผลิตรายการโทรทัศน์ได้โอนสิทธิ์ให้กับทางบริษัทย่อย นั่นคือ '''บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด''' โดยมี [[นุติ เขมะโยธิน]] ทำหน้าที่เป็นกรรมการผู้จัดการ แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนผู้บริหารเป็น [[เยาวลักษณ์ พูลทอง|ดร.เยาวลักษณ์ พูลทอง]] ทำหน้าที่เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ร่วมกับ [[สุภาพรรณ วิสฤตาภา]] ทำหน้าที่เป็นกรรมการผู้จัดการบริษัท และ [[พิไลวรรณ บุญล้น]] ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการฝ่ายรายการและละคร รวมทั้งบริหารงานการดำเนินงานในด้านการผลิตรายการโทรทัศน์จนถึงปัจจุบัน<ref name="มีเดียสตูดิโอ">{{cite web |url=https://archive.is/v2lS |title=มีเดีย ออฟ มีเดียส์..วันที่ไร้เงา 'ชาลอต โทณวณิก' |author=กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ |date=13 มกราคม 2553 |website=Bangkokbiznews.com |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref>
 
== ประวัติ ==
บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (เดิม บริษัท มีเดีย เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด) เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2527 ด้วยทุนจดทะเบียน 200,000 บาท โดยมี [[ยุวดี บุญครอง]] เป็นประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการธุรกิจเป็นตัวแทนรับขายเวลาโฆษณาในรายการต่าง ๆ ทางโทรทัศน์เรื่อยมา จนถึงในปี พ.ศ. 2532 ทางบริษัทฯ เริ่มซื้อเวลาจากทางสถานีเข้าดำเนินการผลิตรายการและขายโฆษณาเอง โดยเริ่มจากการนำภาพยนตร์ต่างประเทศที่มีคุณภาพเข้ามาออกอากาศในรายการ "[[แผ่นฟิล์มวันศุกร์]]" ทาง[[ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี|สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.]] โดยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 เป็นต้นมา บริษัทฯ จึงได้ก้าวเข้าสู่เป็นผู้ผลิตรายการอย่างเต็มรูปแบบด้วยการผลิตรายการโทรทัศน์เอง โดยเริ่มจากรายการ "เด็ดยอดกีฬามันส์" และรายการ "เจาะโลกมหัศจรรย์" ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ได้กลายเป็นผู้บุกเบิก[[รายการโทรทัศน์ในภาคเช้า]] ของจากการผลิตรายการ [[บ้านเลขที่ 5]] ทาง[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก|สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5]] คือรายการ "[[บ้านเลขที่ 5]]" ซึ่งประสบความสำเร็จจนกลายเป็นต้นแบบของรายการภาคเช้า และได้รับความนิยมจากผู้ชมเป็นอย่างสูงอีกด้วย
 
ทางบริษัทฯ มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็นระยะ เพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] อนุมัติให้เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนตั้งแต่วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 เป็นต้นไป โดยจึงแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน ภายใต้ชื่อ '''"บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน)"''' พร้อมทุนจดทะเบียน 260 ล้านบาท โดยประกอบธุรกิจหลักประเภทจำหน่ายเวลาโฆษณาทางโทรทัศน์ และผลิตรายการโทรทัศน์รูปแบบต่าง ๆ ซึ่งในช่วงนั้น รายการโทรทัศน์ที่ผลิตโดยบริษัทฯ ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชมทุกเพศทุกวัย ยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของบริษัทฯ คือช่วงปี พ.ศ. 2535 – พ.ศ. 2540 โดยเป็นบริษัทที่มีเวลาออกอากาศทางสถานีฟรีทีวีมากที่สุดต่อสัปดาห์ในช่วงนั้น
 
ต่อมา เมื่อมีการเข้าร่วมทุนของ[[บริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด]] เปิดโอกาสให้บริษัทมีเวลาเช่าออกอากาศจาก[[ช่อง 7 เอชดี|สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]] มากขึ้น ซึ่งมีผลอย่างมากต่อการเพิ่มขึ้นของรายได้ของบริษัทฯ นอกจากนี้ยังช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจ ซึ่งบริษัทฯ ไม่มีความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องและความสามารถในการดำรงอยู่ของบริษัทอีกต่อไป แต่บริษัทฯ ยังมีความเสี่ยงในเรื่องการต่อสัญญาเช่า โดยช่วงครึ่งหลังของปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา รายการของทางบริษัทฯ 3 รายการ ไม่ได้รับการต่อสัญญาเช่าเวลาจากสถานีโทรทัศน์ ทำให้มีผลกระทบต่อรายได้โฆษณาของบริษัทฯ เป็นอย่างสูง ดังนั้นในปี พ.ศ. 2548 ทางบริษัทฯ จึงได้ขยายธุรกิจสื่อให้ครอบคลุมสื่อ[[วีซีดี]], [[สิ่งพิมพ์เผยแพร่|สื่อสิ่งพิมพ์]] และสถานี[[โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม]] เพื่อขยายฐานรายได้<ref name="มีเดียออฟมีเดียส์"></ref>
 
ในปี พ.ศ. 2549 ทางบริษัทฯ ได้ทำการปรับโครงสร้างการบริหารงาน โดยกลุ่มผู้บริหารระดับสูงชุดใหม่ นำโดย [[ชาลอต โทณวณิก]] ในตำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และ ธงชัย ชั้นเสวิกุล ในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ เข้ามาบริหารเพื่อกำหนดกลยุทธ์และสร้างผลประกอบการที่ดียิ่งขึ้น โดยพยายามลดต้นทุนการผลิตในทุกด้าน รวมทั้งเน้นการผลิตรายการโทรทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เป็นหลัก<ref name="ชาลอต">{{cite web |url=http://web.archive.org/web/20120217010033/http://www.medias.co.th/investor.php# |title=ข้อมูลองค์กร (2) |author=มีเดีย ออฟ มีเดียส์ |website=Medias.co.th |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> จนทำให้บางรายการของบริษัทฯ ที่กำลังออกอากาศในสถานีโทรทัศน์ช่องอื่น ๆ ในขณะนั้น ต้องถูกดูแลโดยบริษัทที่ยุวดีได้ตั้งขึ้นมาใหม่ นั่นคือ '''[[บริษัท เอเชีย เทเลวิชัน แอนด์ มีเดีย จำกัด]]'''
 
ทั้งนี้ ในปลายปี พ.ศ. 2552 ทางบริษัทฯ ได้โอนขายทรัพย์สินที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจสื่อทั้งหมดของบริษัทให้แก่ '''[[มีเดีย สตูดิโอ|บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด]]''' ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่มีวัตถุประสงค์ที่จะดำเนินการด้านธุรกิจสตูดิโอ โดยได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยมี โยธิน บุญดีเจริญ เข้ามารับช่วงกิจการต่อ ส่วนมีเดีย สตูดิโอ มีชาลอต เป็นประธานบริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด เพื่อผลิตรายการโทรทัศน์และสื่อต่าง ๆ จากบริษัทเดิมต่อไป โดยมีสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมของตนเองภายใต้ชื่อ "[[ที แชนแนล]]", "[[มีเดีย แชนแนล]]", "[[ยู แคมปัส แชนแนล]]" และ "[[มีเดีย บูม]]" อีกด้วย<ref name="ทีแชนแนล">{{cite web |url=https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=2883 |title=มีเดีย ออฟ มีเดียส์ ทุ่ม 100 ล้านขยายธุรกิจ ประกาศลุยโทรทัศน์ดาวเทียม |author=ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ |date=30 เมษายน 2551 |website=Prachachat.net |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> แต่ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 ทางบริษัทฯ ได้ยกเลิกการทำสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม '''ที แชนแนล''' เนื่องจากผลประกอบการที่ผ่านมาไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ และเปลี่ยนมาดำเนินการในรูปแบบการรับจ้างผลิตรายการช่องสถานีลูกทุ่งให้กับ[[บริษัท ทรู วิชั่นส์ จำกัด (มหาชน)]] และ[[บริษัท ทรู วิชั่นส์ เคเบิล จำกัด (มหาชน)]] โดยยังคงรูปแบบรายการเหมือนสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเดิม จนส่งผลกระทบให้ในวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2553 ชาลอตได้ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งประธานบริษัท ของมีเดีย สตูดิโอ จำกัด และเปลี่ยนชื่อของ'''บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน)''' เป็น '''บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน)''' ซึ่งและเปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินธุรกิจเป็นธุรกิจด้านทางอสังหาริมทรัพย์แทน โดยได้โอนสิทธิ์ในการดำเนินธุรกิจในด้านผลิตรายการโทรทัศน์ทั้งหมดจากบริษัทฯ ให้กับทางบริษัทย่อย นั่นคือ '''[[บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด]]''' และยังคงดำเนินธุรกิจด้านสื่อและการผลิตรายการโทรทัศน์มาโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน<ref name="มีเดียสตูดิโอ"></ref>
{{โครง-ส่วน}}
 
เส้น 49 ⟶ 47:
 
== ผลงาน ==
ปัจจุบัน มีเดีย สตูดิโอ (หรือในชื่อเดิมคือ มีเดีย ออฟ มีเดียส์) มีรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่ 5 รายการ เป็นรายการประเภทเกมโชว์, วาไรตี้โชว์ และรายการข่าว ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบก[[ช่อง 7 เอชดี]] ทั้งหมด ทั้งนี้ รายการโทรทัศน์ที่กำลังจะออกอากาศในอนาคตเน้น ''"ตัวเอน"'' และรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่ในปัจจุบันเน้น '''"ตัวหนา"'''
{{โครง-ส่วน}}
 
เส้น 158 ⟶ 156:
 
==== ข่าว ====
* [[สนามข่าว 7 สี|เช้าส่งข่าวถึงบ้าน 7 สี]] (ประมาณปี พ.ศ. 2549) ช่อง 7
* [[เจาะเกาะติด]] (พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2558) ช่อง 7
* '''[[ประเด็นเด็ด 7 สี]] (พ.ศ. 2552 – ปัจจุบัน) ช่อง 7'''