ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศักราชของญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wikiedit126 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''ชื่อศักราชรัชศก''' ({{lang-ja|年号/元号}} ''nengō/gengō'') เป็นหนึ่งในสองสิ่งที่ใช้ระบุปีตามปฏิทินญี่ปุ่น อีกสิ่งหนึ่ง คือ '''เลขศักราช''' เช่น "[[โชวะ|ปีโชวะ]]ที่ 1" ประกอบด้วย ชื่อศักราชรัชศก คือ "โชวะ" และเลขศักราชรัชศก คือ "1"
 
การใช้ชื่อศักราชเช่นนี้ก็เหมือนกับที่อื่น ๆ ในเอเชียตะวันออก คือ ได้รับอิทธิพลมาจาก[[ชื่อศักราชจีน]] แต่การตั้งชื่อศักราชญี่ปุ่นใช้วิธีการคนละอย่างกับใน[[ชื่อศักราชจีน|ระบบจีน]], [[ชื่อศักราชเกาหลี|ระบบเกาหลี]], และ[[ชื่อศักราชเวียดนาม|ระบบเวียดนาม]] นอกจากนี้ ญี่ปุ่นยังเป็นที่เดียวที่ยังใช้ชื่อศักราชอยู่รัศกอยู่
 
ชื่อศักราชรัชศกสี่ชื่อที่ใช้มาตั้งแต่สิ้น[[ยุคเอโดะ]]เมื่อ ค.ศ. 1868 สามารถย่อโดยใช้อักษรโรมันตัวแรก เช่น S55 หมายถึง Shōwa 55 คือ โชวะปีโชวะที่ที่ 55 (ตรงกับ ค.ศ. 1980) หรือ H22 หมายถึง Heisei 22 คือ [[เฮเซ|ปีเฮเซ]]ปีที่ 22 (ตรงกับ ค.ศ. 2010)
 
ศักราชรัชศกที่ยาวนานที่สุด คือ [[โชวะ]] ซึ่งกินเวลา 62 ปีกับ 2 สัปดาห์ ส่วนศักราชรัชศกปัจจุบัน คือ [[เรวะ]] ซึ่งเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2019<ref name=reiwaannouncement>{{Citation|url=https://youtube.com/watch?v=n1VLtaSsYk4|title=Reiwa Nengō Announcement Footage|date=2019-04-01|}}</ref>
 
==ดูเพิ่ม==