ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ติดป้ายข้อมูลเยอะไป อันที่จริงควรอธิบายความสำคัญให้คนทั่วไปได้รู้ว่ามันคืออะไร และสรุปอย่างคร่าว ๆ ก็พอ ไม่ควรเล่าเป็น Timeline ที่มีข้อมูลเยอะขนาดนี้
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
ในปี พ.ศ. 2558 [[สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ]] ({{lang-en|International Telecommunications Union}}; ชื่อย่อ: ITU) ประกาศให้ทั่วโลกยุติการออกอากาศ[[โทรทัศน์ระบบแอนะล็อก]]<ref>{{Cite web|url=http://www.prd.go.th/download/article/article_20200515101456.pdf|title=การเปลี่ยนผ่านสู่ระบบโทรทัศน์ดิจิทัลสำหรับประเทศไทย|website=www.prd.go.th|author=[[กรมประชาสัมพันธ์]]|date=18 สิงหาคม 2551|accessdate=2 กรกฎาคม 2563}}</ref> และกลุ่มประเทศใน[[สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] (อาเซียน) ก็ได้เห็นพ้องต้องกันให้ยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกภายในปี พ.ศ. 2563<ref name=":0">{{Cite web|url=https://www.itu.int/en/ITU-D/Regional-Presence/AsiaPacific/Documents/Events/2014/December-DTTB-Thailand/Session4B_Orasri_Srirasa.pdf|title=สถานะการออกอากาศโทรทัศน์ภาคพื้นดินในประเทศไทย|author=[[คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ|กสทช.]] ร่วมกับ ITU|website=www.itu.int|date=4 ธันวาคม 2557|accessdate=2 กรกฎาคม 2563}}</ref> ทำให้ประเทศไทยซึ่งกิจการโทรทัศน์อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ กสทช. ต้องเริ่มดำเนินการเปลี่ยนผ่านระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์จากระบบแอนะล็อกเป็น[[โทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัลในประเทศไทย|ระบบดิจิทัล]] โดย กสทช. ได้ดำเนินการประมูลโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในปี พ.ศ. 2556 และเริ่มออกอากาศตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2557 เป็นต้นมา แต่ยังไม่ได้ยุติระบบแอนะล็อก เพราะหากยุติกะทันหันจะส่งผลกระทบให้ผู้ที่รับชมผ่านระบบแอนะล็อกซึ่งเป็นส่วนมากของประเทศไม่สามารถรับชมได้เลย จึงทำให้ต้องมีการแบ่งการยุติการออกอากาศเป็นช่วง ๆ<ref>{{Cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/303286|title=กสทช.เดินหน้าทีวีดิจิตอลเฟสแรกปี 56-ยุติอนาล็อก 58|author=[[ไทยรัฐ]]|website=www.thairath.co.th|date=2 พฤศจิกายน 2555|accessdate=2 กรกฎาคม 2563}}</ref> โดยมอบหมายให้[[สถานีโทรทัศน์]][[ฟรีทีวี]]เดิมทั้ง 6 ช่อง ไปจัดทำแผนแม่บทการยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกในปี พ.ศ. 2558 และมีโครงการแจกคูปองสำหรับ[[กล่องรับสัญญาณ]]โทรทัศน์ระบบดิจิทัลรุ่น [[การแพร่สัญญาณภาพดิจิทัลภาคพื้นดินรุ่นที่ 2|DVB-T2]] ในพื้นที่ที่มีสัญญาณโทรทัศน์ระบบดิจิทัลครอบคลุมตั้งแต่ 80% ขึ้นไป<ref name=":0" />
 
ตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 ซึ่ง กสทช. กำหนดเป็นวันเริ่มต้นออกใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่แก่[[ช่อง 3 เอชดี|สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3]] ก็ได้เกิดปัญหาขึ้น เนื่องจากผู้รับสัมปทานของสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 คือ บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด (บีอีซี) เป็นคนละนิติบุคคลกับผู้รับใบอนุญาตของโทรทัศน์ระบบดิจิทัล คือ บริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด จึงไม่สามารถนำรายการทั้งหมดจากช่องโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกเดิมมา[[การออกอากาศคู่ขนาน|ออกอากาศคู่ขนาน]]ทางช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัลดังที่ดำเนินการมาในระยะทดสอบสัญญาณได้
 
ต่อมาในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2557 กสทช. ลงมติเพิกถอนโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกจากส่วนที่ให้บริการเป็นการทั่วไป จึงต้องยุติการออกอากาศสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ทาง[[โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม]]และ[[โทรทัศน์ผ่านสายเคเบิล]]ตามที่กฎหมายกำหนดตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน เป็นต้นไป<ref>[http://www.nationtv.tv/main/content/social/378422346/ มติ กสท.ไม่ต่ออายุช่อง3ออกดาวเทียม-เคเบิล], เนชั่น, 3 กันยายน 2557</ref> โดยทางช่อง 3 อาศัยความใน[[s:ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ ๒๗/๒๕๕๗|ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 27/2557]] ประกอบกับความในสัญญาสัมปทานโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกซึ่งทำไว้กับ [[อสมท|บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)]] จนถึงวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2563 เพื่อรักษาสิทธิในการออกอากาศต่อไปตามเดิม<ref>[http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9570000100896 “ช่อง 3” แถลงอ้างคำสั่ง “คสช.” ปกป้อง], ผู้จัดการ, 3 กันยายน 2557</ref> วันต่อมา (3 กันยายน) กสทช. ทำหนังสือถึงผู้ให้บริการโครงข่ายทีวีดาวเทียมและเคเบิลทีวีให้งดการออกอากาศสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ภายใน 15 วัน พร้อมทั้งเสนอความช่วยเหลือทางกฎหมาย เพื่อให้สามารถนำสัญญาณจากสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 มาออกอากาศคู่ขนานทางช่อง 33 ได้<ref>[http://www.posttoday.com/กสท-แจ้งดาวเทียม-เคเบิลห้ามออกอากาศช่อง3 กสท.แจ้งดาวเทียม-เคเบิลห้ามออกอากาศช่อง3], โพสต์ทูเดย์, 3 กันยายน 2557</ref> ต่อมาช่อง 3 นำความขึ้นร้องต่อ[[ศาลปกครอง]] โดยชั้นต้นวินิจฉัยให้ผลคือในวันที่ กสทช.8 กับผู้บริหารของช่องตุลาคม 3พ.ศ. เปิดการเจรจากัน2557 แต่ไม่ได้ข้อยุติ [[ศาลปกครองสูงสุด]]จึงเข้าไกล่เกลี่ย โดยทำข้อตกลงให้บีอีซี-มัลติมีเดีย นำสัญญาณภาพและเสียงทั้งหมดจากสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ของบีอีซี ไป[[การออกอากาศคู่ขนาน|ออกอากาศคู่ขนาน]]ใน[[โทรทัศน์ความละเอียดสูง]]ทางช่องหมายเลข 33 ของตนในระบบดิจิทัลภายในวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557<ref>[http://www.thairath.co.th/content/455986 จบด้วยดี! กสท.อนุมัติ ช่อง 3 ออกอากาศคู่ขนาน เริ่มคืนนี้], ไทยรัฐ, 30 ตุลาคม 2557</ref> บีอีซี-มัลติมีเดียจึงถอนรายการต่าง ๆ ที่ออกอากาศทางช่อง 33 เดิม ออกมาจัดแบ่งลงใน[[ช่อง 3 เอสดี|ช่อง 28]] และ[[ช่อง 3 แฟมิลี|ช่อง 13]] แทน โดยเฉพาะช่วงเวลา 06.00 - 09.45 น. ซึ่งแต่เดิมบีอีซี-มัลติมีเดีย มีนโยบายรับสัญญาณจากสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 มาออกอากาศคู่ขนานทาง[[ช่อง 3 แฟมิลี|ช่อง 13]] อยู่แล้ว เมื่อต้องปฏิบัติตามคำสั่งของศาลปกครองอีก จึงทำให้ช่วงเวลาดังกล่าวกลายเป็นการออกอากาศเนื้อหาเดียวกัน แต่คู่ขนานถึง 3 ช่องคือ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, ช่อง 33 และ[[ช่อง 3 แฟมิลี|ช่อง 13]] ซึ่งเท่ากับเป็นการซ้ำซ้อนโดยไม่จำเป็น
จากกรณีดังกล่าว ผู้ชมที่เป็นสมาชิก[[เว็บบอร์ด]]ชุมชนออนไลน์ [[พันทิป.คอม|www.pantip.com]] โต๊ะเฉลิมไทยจำนวนหนึ่ง วิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรง โดยอ้างว่าผู้บริหารช่อง 3 นำรายการที่เคยออกอากาศทางช่อง 3 มาลงในผังของช่องระบบดิจิทัลโดยไม่นำรายการใหม่เข้ามา รวมทั้งกล่าวหาว่าไม่ออกอากาศครบทั้ง 24 ชั่วโมง กสทช. จึงเสนอให้ช่อง 3 โอนถ่ายบัญชีรายได้ของรายการต่าง ๆ ที่ออกอากาศในระบบแอนะล็อกไปยังช่องระบบดิจิทัล แต่ช่อง 3 ยืนยันความเป็นคนละนิติบุคคล จึงทำให้ไม่อาจดำเนินการตามข้อเสนอของ กสทช. ดังกล่าวได้
 
ต่อมาในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2557 กสทช. ลงมติเพิกถอนโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกจากส่วนที่ให้บริการเป็นการทั่วไป จึงต้องยุติการออกอากาศสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ทาง[[โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม]]และ[[โทรทัศน์ผ่านสายเคเบิล]]ตามที่กฎหมายกำหนดตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน เป็นต้นไป<ref>[http://www.nationtv.tv/main/content/social/378422346/ มติ กสท.ไม่ต่ออายุช่อง3ออกดาวเทียม-เคเบิล], เนชั่น, 3 กันยายน 2557</ref> โดยทางช่อง 3 อาศัยความใน[[s:ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ ๒๗/๒๕๕๗|ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 27/2557]] ประกอบกับความในสัญญาสัมปทานโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกซึ่งทำไว้กับ [[อสมท|บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)]] จนถึงวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2563 เพื่อรักษาสิทธิในการออกอากาศต่อไปตามเดิม<ref>[http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9570000100896 “ช่อง 3” แถลงอ้างคำสั่ง “คสช.” ปกป้อง], ผู้จัดการ, 3 กันยายน 2557</ref> วันต่อมา (3 กันยายน) กสทช. ทำหนังสือถึงผู้ให้บริการโครงข่ายทีวีดาวเทียมและเคเบิลทีวีให้งดการออกอากาศสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ภายใน 15 วัน พร้อมทั้งเสนอความช่วยเหลือทางกฎหมาย เพื่อให้สามารถนำสัญญาณจากสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 มาออกอากาศคู่ขนานทางช่อง 33 ได้<ref>[http://www.posttoday.com/กสท-แจ้งดาวเทียม-เคเบิลห้ามออกอากาศช่อง3 กสท.แจ้งดาวเทียม-เคเบิลห้ามออกอากาศช่อง3], โพสต์ทูเดย์, 3 กันยายน 2557</ref> ต่อมาช่อง 3 นำความขึ้นร้องต่อ[[ศาลปกครอง]] โดยชั้นต้นวินิจฉัยให้ กสทช. กับผู้บริหารของช่อง 3 เปิดการเจรจากัน แต่ไม่ได้ข้อยุติ [[ศาลปกครองสูงสุด]]จึงเข้าไกล่เกลี่ย โดยทำข้อตกลงให้บีอีซี-มัลติมีเดีย นำสัญญาณภาพและเสียงทั้งหมดจากสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ของบีอีซี ไป[[การออกอากาศคู่ขนาน|ออกอากาศคู่ขนาน]]ใน[[โทรทัศน์ความละเอียดสูง]]ทางช่องหมายเลข 33 ของตนในระบบดิจิทัลภายในวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557<ref>[http://www.thairath.co.th/content/455986 จบด้วยดี! กสท.อนุมัติ ช่อง 3 ออกอากาศคู่ขนาน เริ่มคืนนี้], ไทยรัฐ, 30 ตุลาคม 2557</ref> บีอีซี-มัลติมีเดียจึงถอนรายการต่าง ๆ ที่ออกอากาศทางช่อง 33 เดิม ออกมาจัดแบ่งลงใน[[ช่อง 3 เอสดี|ช่อง 28]] และ[[ช่อง 3 แฟมิลี|ช่อง 13]] แทน โดยเฉพาะช่วงเวลา 06.00 - 09.45 น. ซึ่งแต่เดิมบีอีซี-มัลติมีเดีย มีนโยบายรับสัญญาณจากสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 มาออกอากาศคู่ขนานทาง[[ช่อง 3 แฟมิลี|ช่อง 13]] อยู่แล้ว เมื่อต้องปฏิบัติตามคำสั่งของศาลปกครองอีก จึงทำให้ช่วงเวลาดังกล่าวกลายเป็นการออกอากาศเนื้อหาเดียวกัน แต่คู่ขนานถึง 3 ช่องคือ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, ช่อง 33 และ[[ช่อง 3 แฟมิลี|ช่อง 13]] ซึ่งเท่ากับเป็นการซ้ำซ้อนโดยไม่จำเป็น
 
15 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) เห็นชอบแผนการยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกของสถานีโทรทัศน์เจ้าของ[[อุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ]] 4 แห่ง คือ[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก|สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5]], [[เอ็มคอตเอชดี|สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี]], [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย]] และ[[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส]] ซึ่งส่งมาแล้วก่อนหน้านี้ และมอบหมายให้ กสทช. เร่งรัดการส่งแผนการยุติการรับส่งสัญญาณวิทยุโทรทัศน์ในระบบแอนะล็อกของ[[ช่อง 7 เอชดี|สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]] และ[[ช่อง 3 เอชดี|สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3]] เพื่อประกอบการพิจารณากำหนดแผนการยุติการรับส่งสัญญาณวิทยุโทรทัศน์ของประเทศไทย ก่อนนำไปรับฟังความคิดเห็นสาธารณะต่อไป<ref>{{Cite web|url=https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/651917|title=กสท.ไฟเขียวแผนหยุดระบบอนาล็อกฟรีทีวี|author=[[กรุงเทพธุรกิจ]]|website=www.bangkokbiznews.com|date=15 มิถุนายน 2558|accessdate=2 กรกฎาคม 2563}}</ref>
เส้น 14 ⟶ 12:
ต่อมาในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 [[กองทัพบกไทย|กองทัพบก]] ในฐานะคู่สัญญาสัมปทานของ[[ช่อง 7 เอชดี|สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]] ได้แจ้งแนวทางเบื้องต้นในการยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกของสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 แก่ กสท. เพื่อลดต้นทุนสำหรับการออกอากาศในอนาคต<ref>{{Cite web|url=https://www.matichon.co.th/economy/news_551343|title=ช่อง 7 ส่งแผนยุติออกอากาศทีวีอนาล็อก เริ่ม 15 มิ.ย.นี้ กสท.เล็งเจรจาช่องอื่นต่อ|author=[[มติชน]]|website=matichon.co.th|date=5 พฤษภาคม 2560|accessdate=7 กรกฎาคม 2563}}</ref> และ กสท. ได้อนุมัติแผนการยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน ปีเดียวกัน<ref>{{Cite web|url=https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_585147|title=กสท.อนุมัติแผนช่อง 7 ทยอยยุติออกอากาศทีวีอนาล็อก เริ่ม 1 ส.ค.60|author=[[มติชน]]|website=matichon.co.th|date=19 มิถุนายน 2560|accessdate=7 กรกฎาคม 2563}}</ref> ทั้งนี้ พันธะผูกพันต่าง ๆ ของสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในฐานะคู่สัญญาสัมปทานกับกองทัพบกนั้น ยังคงมีอยู่จนกระทั่งหมดสัญญาสัมปทาน<ref name="ฺbbtvgodigital">[http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/753517 กสทช.แจง "ช่อง7" ทยอยยุติทีวีอนาล็อก มิ.ย.นี้] [[กรุงเทพธุรกิจ]].</ref>
 
ต่อมาในวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 กสทช. ได้มีมติให้ยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกอย่างเป็นทางการ หลังจากที่ 5 ช่องก่อนหน้ามีการยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกทั้งหมดไปเมื่อเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม พ.ศ. 2561แล้ว เพื่อให้เป็นไปในทำนองเดียวกัน กสทช.​ จึงมีมติให้วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ถือเป็นวันสิ้นสุดการออกอากาศในระบบแอนะล็อกเดิม เพื่อที่จะนำคลื่น 700 MHz ที่ใช้งานกับระบบดิจิทัลชั่วคราว กลับมาจัดสรรใหม่ให้กิจการ[[โทรคมนาคมในประเทศไทย|โทรคมนาคม]] เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับระบบ [[5 จี]] ในอนาคต และได้มีมติให้[[ช่อง 3 เอชดี|สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3]] ยกเลิกการออกอากาศคู่ขนานกับระบบดิจิทัลความละเอียดสูงทางช่อง 33 โดยให้แยกผังรายการออกจากกันอย่างชัดเจน<ref>{{Cite web|url=https://positioningmag.com/1177691|title=ช่อง 3 กระอัก! กสทช.สั่งยกเลิกออกอากาศคู่ขนาน มีผล 17 ก.ค.|author=Positioning Magazine|website=positioningmag.com|date=9 กรกฎาคม 2561|accessdate=7 กรกฎาคม 2563}}</ref> แต่ช่อง 3 ได้ยื่นคัดค้านมติ เนื่องจากสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ยังไม่สามารถยกเลิกระบบแอนะล็อกได้ เพราะมีสาเหตุมาจากบีอีซียังไม่หมดสัญญาสัมปทานกับ [[อสมท|บมจ.อสมท]] ซึ่งเป็น[[รัฐวิสาหกิจไทย|รัฐวิสาหกิจ]]ภายใต้การกำกับดูแลของ[[สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)|สำนักนายกรัฐมนตรี]] และจดทะเบียนเป็น[[บริษัทมหาชนจำกัด]]อยู่ใน[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] จึงทำให้ไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาสัมปทานได้ และได้อ้างถึงยังขัดกับข้อตกลงที่บีอีซีทำกับ กสทช. ที่[[ศาลปกครอง]]ในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ที่ให้บีอีซี-มัลติมีเดีย นำผังรายการของสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ไปออกอากาศคู่ขนานในระบบดิจิทัล[[โทรทัศน์ความละเอียดสูง|ความละเอียดสูง]]ทางช่อง 33อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ช่อง 3 รับมติของ กสทช. 3 เรื่อง คือ การแสดงถึงการเป็นผู้บริหารผังรายการของช่องด้วยตัวเอง การแสดงรูปแบบในการหารายได้ของช่องอย่างชัดเจน และแยกตราสัญลักษณ์ของสถานีออกจากกัน<ref>{{Cite web|url=https://positioningmag.com/1178763|title=จับตาช่อง 3 HD ต้องเผชิญการเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง หลัง กสทช.ให้ใช้ผังเดียวกับกับแอนะล็อกแต่ต้องแสดงสิทธิในการเป็นผู้บริหารช่องเอง แสดงรายได้แยกชัดเจน|author=Positioning Magazine|website=positioningmag.com|date=15 กรกฎาคม 2561|accessdate=7 กรกฎาคม 2563}}</ref> โดยช่อง 3 แสดงสัญลักษณ์ของระบบแอนะล็อกไว้ที่มุมล่างขวา ในขณะที่ระบบดิจิทัลยังคงยึดตำแหน่งเดิมคือมุมบนขวา<ref>{{Cite web|url=https://www.tvdigitalwatch.com/news-ch3-20-07-2561/|title=หน้าจอใหม่ช่อง 3 แอนะล็อก และช่อง 3 HD|author=TV Digital Watch|website=www.tvdigitalwatch.com|date=20 กรกฎาคม 2561|accessdate=7 กรกฎาคม 2563}}</ref>
 
และเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 บีอีซีได้สิ้นสุดสัญญาสัมปทานกับ [[อสมท|บมจ.อสมท]] เป็นผลทำให้[[ช่อง 3 เอชดี|สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3]] ได้ทำการยุติการออกอากาศในระบบแอนะล็อกทั่วประเทศ เมื่อเวลา 00.01 น. ของวันดังกล่าว รวมระยะเวลาในการออกอากาศระบบแอนะล็อกทั้งสิ้น 50 ปี และถือเป็นการยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกในประเทศไทยอย่างสมบูรณ์แบบ เนื่องจากเป็นสถานีโทรทัศน์ของไทยช่องสุดท้ายที่ยุติการออกอากาศในระบบนี้<ref name=":1">{{Cite web|url=https://mgronline.com/business/detail/9630000029771|title=ช่อง 3 ยุติแอนะล็อก ยกสินทรัพย์คืน อสมท|author=[[ผู้จัดการออนไลน์]]|website=mgronline.com.com|date=24 มีนาคม 2563|accessdate=7 กรกฎาคม 2563}}</ref>
เส้น 327 ⟶ 325:
 
=== พ.ศ. 2563 ===
[[ไฟล์:Ch.3_Terminate_broadcast_in_analog.png|thumb|350px|ภาพหน้าจอที่แสดงก่อนยุติการแพร่ภาพระบบแอนะล็อกของสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ที่แสดงเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2563 ก่อนยุติการแพร่ภาพระบบแอนะล็อก<!--ภาพแจ้งยุติการออกอากาศ ตามด้วยเพลงสรรเสริญพระบารมี และแท่งสีตามลำดับ-->]]
มี 1 ช่องที่ยุติการออกอากาศระบบแอนะล็อกในปีนี้ คือสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยได้ทำการยุติการออกอากาศในระบบแอนะล็อกจากสถานีส่งทั้ง 32 แห่งทั่วประเทศ และรวมถึงสถานีส่งหลักบน[[อาคารใบหยก 2]] ใน[[กรุงเทพมหานคร]]ด้วย เมื่อเวลา 00.:01 น. ของวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 รวมระยะเวลาในการออกอากาศระบบแอนะล็อกทั้งสิ้น 50 ปี ตามระยะเวลาที่กำหนดในสัญญาสัมปทานในกิจการส่งโทรทัศน์ระหว่าง บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด (บีอีซี) กับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) (บมจ.อสมท) และถือเป็นการยุติการออกอากาศระบบแอนะล็อกในประเทศไทยอย่างสมบูรณ์แบบ เนื่องจากเป็นสถานีโทรทัศน์ของไทยช่องสุดท้ายที่ยุติการออกอากาศในระบบนี้<ref name=":1" />
 
== สถานีโทรทัศน์ระบบดิจิทัลที่สืบเนื่องมาจากระบบแอนะล็อก ==