ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ภาพ Atlantic_hurricane_graphic.gif ด้วย Atlantic_hurricane_graphic.png จากวิกิพีเดียคอมมอนส์
บรรทัด 37:
ลมเฉือนแนวตั้งที่มีความเร็วน้อยกว่า 10 [[เมตรต่อวินาที|ม./ว.]] (20 [[นอต (หน่วยวัด)|นอต]]) ระหว่างพื้นผิวกับ[[โทรโพพอส]]นั้นเหมาะกับการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน<ref name="A15"/> โดยลมเฉือนแนวตั้งที่มีกำลังอ่อนนี้จะทำให้พายุเติบโตได้อย่างรวดเร็วในแนวตั้งในอากาศ ซึ่งจะช่วยให้พายุก่อตัวและแข็งแรงขึ้น ถ้าลมเฉือนแนวตั้งมีกำลังแรงเกินไป พายุจะไม่สามารถโตขึ้นได้อย่างเต็มศักยภาพและพลังงานของมันจะเริ่มแผ่ขยายออกไป จนพื้นที่นั้นกว้างเกินกว่าที่พายุจะมีกำลังมากขึ้นได้<ref>{{cite web|title=Hurricanes: a tropical cyclone with winds > 64 knots|url=http://ww2010.atmos.uiuc.edu/(Gh)/guides/mtr/hurr/grow/home.rxml|publisher=University of Illinois|accessdate=24 March 2014|year=2006}}</ref> ลมเฉือนสามารถ "พัด" ให้พายุหมุนเขตร้อนแยกออกจากกันได้<ref name="UIUC hurricanes">{{cite web| url=http://ww2010.atmos.uiuc.edu/(Gh)/guides/mtr/hurr/grow/home.rxml | title=Hurricanes | author=Department of Atmospheric Sciences (DAS) | year=1996 | publisher=[[University of Illinois at Urbana-Champaign]] | accessdate=August 9, 2008}}</ref> เนื่องจากมันจะไปแทนที่แกนอบอุ่นระดับกลางจากการหมุนเวียนที่พื้นผิว และหยุดระดับกลางของ[[โทรโพพอส]]ซึ่งจะหยุดการพัฒนาของพายุ ในระบบขนาดเล็กกว่า การพัฒนาของ[[การพาความร้อนซับซ้อนเมโซสเกล]] (Mesoscale convective complex) นัยสำคัญในสิ่งแวดล้อมที่ขาด <!-- sheared environment --> สามารถส่งขอบเขตการไหลออกขนาดใหญ่พอออกไปเพื่อทำลายพื้นผิวของพายุหมุนได้ โดยลมเฉือนกำลังปานกลางนั้นสามารถนำไปสู่การพัฒนาทั้งขั้นต้นของการพาความร้อนซับซ้อน และความกดอากาศต่ำพื้นผิวคล้ายกับมิดละติจูดได้ แต่มันต้องลดความตึงลงเพื่อเปิดทางให้การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อนนั้นดำเนินต่อ<ref>University of Illinois (October 4, 1999). [http://ww2010.atmos.uiuc.edu/(Gh)/guides/mtr/hurr/grow/home.rxml Hurricanes.] Retrieved 2008-08-17.</ref>
 
==== ปฏิกิริยาร่องความกดอากาศต่ำที่น่าพอใจเป็นประโยชน์ ====
<!--
แรงเฉือนของลมเฉือนแนวตั้งที่อยู่ในระดับจำกัด อาจส่งผลดีต่อการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนได้ เมื่อ[[ร่อง (อุตุนิยมวิทยา)|ร่อง]]ความกดอากาศต่ำชั้นบนหรือหย่อมความกดอากาศชั้นบนที่มีขนาดใกล้เคียงกับหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง ซึ่งระบบจะสามารถถูกคัดท้าย (steered) โดยระบบที่อยู่ในชั้นบนให้เข้าสู่พื้นที่ที่มี[[การลู่ออก]]ขึ้นสู่ด้านบนที่ดีกว่าได้ ซึ่งสามารถทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นของพายุต่อไป โดยลมหมุนชั้นบนที่มีกำลังอ่อนจะเป็นผลที่ดีในปฏิกิริยาที่เป็นประโยชน์นี้ ทั้งนี้มีหลักฐานว่าพายุหมุนเขตร้อนที่ถูกกระทำโดยลมเฉือนกำลังอ่อนในตอนแรก จะพัฒนาได้รวดเร็วกว่าพายุหมุนเขตร้อนที่ไม่ถูกพัดเฉือน แม้ว่าการนั้นจะนำมาซึ่งความรุนแรงสูงสุดโดยความเร็วลมสูงสุดที่อ่อนกว่า และ[[ความกดอากาศ|ความกดอากาศต่ำที่สุด]]ที่สูงกว่าก็ตาม<ref name="SHEARHELP">{{cite web | author1 = M. E. Nicholls | author2 = R. A. Pielke | lastauthoramp = yes | url = http://blue.atmos.colostate.edu/publications/pdf/PPR-175.pdf | title = A Numerical Investigation of the Effect of Vertical Wind Shear on Tropical Cyclone Intensification | work = 21st Conference on Hurricanes and Tropical Meteorology of the [[American Meteorological Society]] | publisher = [[Colorado State University]] | pages = 339–41 | date = April 1995 | accessdate = October 20, 2006 | url-status = dead | archiveurl = https://web.archive.org/web/20060909224836/http://blue.atmos.colostate.edu/publications/pdf/PPR-175.pdf | archivedate = September 9, 2006 | df = mdy-all }}</ref>
==== ปฏิกิริยาร่องความกดอากาศต่ำที่น่าพอใจ ====
 
-->
== เวลาในการก่อตัว ==
[[ไฟล์:WorldwideTCpeaks.gif|thumb|right|350px|ค่าสูงที่สุดของกิจกรรมทั่วโลก]]