ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคไอกรน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 22:
'''โรคไอกรน''' ({{lang-en|pertussis}}) เป็น[[โรคติดเชื้อแบคทีเรีย]]ที่[[โรคติดต่อ|ติดต่อ]]ได้ง่ายมากโรคหนึ่ง<ref>{{cite journal | author = Carbonetti NH | title = Immunomodulation in the pathogenesis of Bordetella pertussis infection and disease | journal = Curr Opin Pharmacol | volume = 7 | issue = 3 | pages = 272–8 | date = June 2007 | pmid = 17418639 | doi = 10.1016/j.coph.2006.12.004 }}</ref><ref name=CDC2014S/> อาการแรกเริ่มมักคล้ายคลึงกับ[[หวัด]] โดยผู้ป่วยจะมี[[ไข้]] [[น้ำมูกไหล]] และ[[อาการไอ|ไอ]]เล็กน้อย จากนั้นจึงมีอาการไอรุนแรงต่อเนื่องหลายสัปดาห์ และมีไอเสียงสูงหรือหายใจเฮือกขณะจะมีอาการไอ อาการไอในระยะนี้อาจเป็นต่อเนื่องได้ถึง 10 สัปดาห์หรือมากกว่า บางครั้งจึงเรียกโรคนี้ว่า "โรคไอ 100 วัน"<ref>{{cite web|title=Pertussis (Whooping Cough) Fast Facts|url=http://www.cdc.gov/pertussis/fast-facts.html|website=cdc.gov|accessdate=12 February 2015|date=February 13, 2014}}</ref> ผู้ป่วยอาจมีอาการไอรุนแรงมากจน[[อาเจียน]] [[ซี่โครงหัก]] หรือ[[Fatigue (medical)|อ่อนเพลีย]]อย่างมากจากการไอได้<ref name=CDC2014S/><ref name=CDC2013Com>{{cite web|title=Pertussis (Whooping Cough) Complications|url=http://www.cdc.gov/pertussis/about/complications.html|website=cdc.gov|accessdate=12 February 2015|date=August 28, 2013}}</ref> ผู้ป่วยเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปีอาจมีอาการไอเพียงเล็กน้อยหรือไม่ไอเลย แต่มีอาการ[[apnea|หยุดหายใจ]]ชั่วขณะแทน<ref name=CDC2014S>{{cite web|title=Pertussis (Whooping Cough) Signs & Symptoms|url=http://www.cdc.gov/pertussis/about/signs-symptoms.html|accessdate=12 February 2015|date=May 22, 2014}}</ref> [[ระยะฟักตัว]]ของโรคนี้มักอยู่ที่ 7-10 วัน ผู้ที่รับ[[วัคซีน]]แล้วก็อาจป่วยด้วยโรคนี้ได้ แต่อาการอาจรุนแรงน้อยกว่า<ref name=CDC2014S/>
 
==อาการและอาการแสดง==
อาการตามแบบฉบับของโรคไอกรนคืออาการไอมากเป็นชุดๆ หายใจเข้าเสียงดัง (วู้ป/whoop) บางครั้งอาจไอมากจนอาเจียนหรือหมดสติได้<ref name=JAMA2010>{{cite journal | vauthors = Cornia PB, Hersh AL, Lipsky BA, Newman TB, Gonzales R | title = Does this coughing adolescent or adult patient have pertussis? | journal = JAMA | volume = 304 | issue = 8 | pages = 890–6 | date = August 2010 | pmid = 20736473 | doi = 10.1001/jama.2010.1181 | s2cid = 14430946 | url = https://semanticscholar.org/paper/29c77e6aa3019781334536bd7ce45988acf1b0d0 }}</ref>
==สาเหตุ==
โรคไอกรนเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ''Bordetella pertussis'' ติดจากคนสู่คนอ่านการหายใจเอาละอองฝอยที่มีเชื้อซึ่งถูกปล่อยออกมาจากคนป่วยที่มีอาการไอหรือจาม<ref name=CDC2014C/>
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}