ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดเทวราชกุญชรวรวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
QueerEcofeminist (คุย | ส่วนร่วม)
Undid edits by 202.28.108.35 (talk) to last version by BotKung: test edits, please use the sandbox
บรรทัด 20:
| website = http://watdevaraj.org
}}
'''วัดเทวราชกุญชรวรวิหาร''' เป็น[[พระอารามหลวง]] ชั้นตรี ชนิดวรวิหาร<ref>สุนทรียา ศรีวรขันธ์, [บรรณาธิการเล่ม]. 80 พระอารามหลวง กรุงเทพมหานคร.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ฐานบุ๊คส์, 2550. [https://eds.a.ebscohost.com/eds/detail/detail?vid=0&sid=55e0650a-9333-4242-ac99-459cf58bcdc7%40sdc-v-sessmgr02&bdata=JnNpdGU9ZWRzLWxpdmU%3d#AN=chu.b1761044&db=cat05085a]</ref> <ref>พินิจ รัตนกุล และคนอื่นๆ (คณะบรรณาธิการและผู้เรียบเรียง). พระอารามหลวงในกรุงเทพมหานคร.นครปฐม : วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล, 2550. </ref>ตั้งอยู่ใน[[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] ริม[[คลองผดุงกรุงเกษม]]และ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] พระอุโบสถของวัดได้รับการปฏิสังขรณ์โดย[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ปัจจุบันภายในมีจิตรกรรมฝาผนังที่งดงามและอยู่ในสภาพที่ได้รับการอนุรักษ์อย่างดี โดยตกแต่งด้วยสีน้ำเงินทะเลเป็นหลัก<ref>ธวัชชัย ปุณณลิมปกุล. การอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนังและวิธีระบายความชื้นวัดเทวราชกุญชรวรวิหารและวัดพิชญญาติการามวรวิหาร กรุงเทพมหานคร. [กรุงเทพฯ] : [ม.ป.พ.], 2548.[https://eds.a.ebscohost.com/eds/detail/detail?vid=0&sid=bae2d99a-3a0c-4cda-b36e-759a13a5ac81%40sessionmgr4008&bdata=JnNpdGU9ZWRzLWxpdmU%3d#AN=chu.b1731027&db=cat05085a] </ref> ภายในวัดยังเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์ไม้สักทอง วัดเทวราชกุญชรฯ ซึ่งเป็นอาคารทรงไทยแบบ[[สถาปัตยกรรมจีน-โปรตุเกส]] สร้างด้วยไม้สักทอง<ref>วชิรา ชิติกชุษณพงศ์. (2558). พิพิธภัณฑ์ ไม้สักทอง วัดเทวราชกุญชรวรวิหาร. วารสารกรมประชาสัมพันธ์.ปีที่ 20 ฉบับที่ 221 กรกฎาคม 2558 หน้า 13-16.https://hq.prd.go.th/prTechnicalDM/download/article/article_20150916105724.pdf</ref> ตามแบบดั้งเดิมทั้งหลัง<ref>https://m.pantip.com/topic/31104589?</ref> วัดเทวราชฯยังได้จัดสร้างอาคารปฏิบัติธรรมทรงปั้นหยา ศิลปะสมัยรัชกาลที่ 5 ผสมผสานศิลปะสมัย รัชกาลที่ 7 ถือเป็นอาคารปฏิบัติธรรม ที่มีศิลปะงดงามหาชมได้ยากในเขตกรุงเทพมหานคร ที่สำคัญทางวัดได้อนุรักษ์อาคารโบราณไว้หลายหลัง โดยเฉพาะอาคารเทวราชธรรมสภา ที่มีอายุกว่า 100 ปี เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาศิลปะในยุครัตนโกสินทร์ด้วย.<ref>วัดเทวราชฯอนุรักษ์อาคารเก่า (ไทยรัฐออนไลน์ 25 ตุลาคม 2557) [https://www.thairath.co.th/content/459016]</ref>
 
== ประวัติ ==