ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยพะเยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pittayutm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
| established = {{เทาเล็ก|มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา}}<br>{{วันเกิดและอายุ|2539|10|8}}<br/>{{เทาเล็ก|มหาวิทยาลัยพะเยา}}<br/>{{วันเกิดและอายุ|2553|7|17}}
| ประเภท = [[สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ]]
| budget = 1,397,954,900 บาท (ปีงบประมาณ 2562)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/071/T1.PDF พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒], เล่ม ๑๓๕ ตอน ๗๑ ก, หน้า ๑, ๑๗ กันยายน ๒๕๖๑</ref>
| ตำแหน่งหัวหน้า = อธิการบดี
| อธิการบดี = รศ. ดร. สุภกร พงศบางโพธิ์
เส้น 22 ⟶ 21:
 
'''มหาวิทยาลัยพะเยา''' ({{lang-en|The University of Phayao}}; [[อักษรย่อ|ชื่อย่อ]]: มพ. — UP) เป็น[[มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล]] ตั้งอยู่ใน[[จังหวัดพะเยา]] เดิมชื่อ [[มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา|มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตพะเยา]]<ref name="ประวัติมหาวิทยาลัยพะเยา">[http://www.up.ac.th/V6/contentshow.aspx?ItemID=301 ประวัติมหาวิทยาลัยพะเยา]</ref> ต่อมา มีการตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2553 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 และประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2553<ref name="พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2553">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/A/044/4.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2553], เล่ม 127, ตอนที่ 44 ก, หน้า 4, วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2553</ref> จึงถือได้ว่ามหาวิทยาลัยพะเยาได้แยกออกจากมหาวิทยาลัยนเรศวร และเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศอย่างเต็มรูปแบบ นับเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ 79 ของไทย ถัดจาก[[มหาวิทยาลัยนครพนม]] โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยพะเยาทำการสอนมาแล้วกว่า {{อายุ|2539|10|8}} ปี
 
มหาวิทยาลัยพะเยาเป็นอีกหนึ่งมหาวิทยาลัยที่ใช้คำว่า "นิสิต" เรียกผู้เข้าศึกษา โดยคำว่า "นิสิต" มีความหมายว่า "ผู้อยู่อาศัย" สืบเนื่องมาจากเดิมทีมหาวิทยาลัยแห่งนี้คือวิทยาเขตของ[[มหาวิทยาลัยนเรศวร]] ซึ่งใช้คำว่า "นิสิต" เรียกผู้ศึกษา เมื่อแยกตัวเป็นเอกเทศจากมหาวิทยาลัยนเรศวรแล้ว เพื่อเป็นการระลึกถึง มหาวิทยาลัยจึงยังใช้คำว่า "นิสิต" ในการเรียกผู้ศึกษาของมหาวิทยาลัยมาจนถึงปัจจุบัน โดยคำว่า "นิสิต" ได้เริ่มใช้ครั้งแรกในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในช่วงที่เป็น[[โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และได้รับการสถาปนาเป็น[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]นั้น ที่ตั้งของมหาวิทยาลัยถือว่าอยู่นอกเมือง การคมนาคมเพื่อมาศึกษาเป็นการยากลำบาก ดังนั้น ผู้ที่มาเรียนส่วนใหญ่จำเป็นต้องพักภายในหอพักของมหาวิทยาลัย และเรียกบุคคลที่อาศัยในห้องปฏิบัติการว่านิสิตเช่นเดียวกันด้วย ซึ่งในภายหลัง[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]], [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]],[[มหาวิทยาลัยนเรศวร]], [[มหาวิทยาลัยบูรพา]], [[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] [[มหาวิทยาลัยทักษิณ]] และ[[มหาวิทยาลัยพะเยา]] ได้เปิดอยู่นอกเมือง และผู้ที่มาศึกษาก็จำเป็นต้องอยู่หอพักเช่นเดียวกัน จึงได้ใช้คำว่า "นิสิต" เช่นเดียวกัน ในปัจจุบันนี้ ถึงแม้ว่าผู้ที่มาเรียนจะไม่ได้พักในหอพักเหมือนในสมัยก่อนแล้วก็ตาม แต่ก็ยังนิยมเรียกว่า "นิสิต"<ref>[https://www.sanook.com/campus/1392845/ ทำไมจึงเรียก นิสิต] สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2563</ref> สำหรับมหาวิทยาลัยดังกล่าว
 
== ประวัติ ==
เส้น 190 ⟶ 187:
นอกจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยหน่วยงานในประเทศไทยแล้ว ยังมีหน่วยงานจัดอันดับมหาวิทยาลัยจากต่างประเทศอีกหลายหน่วยงาน ซึ่งแต่ละหน่วยงานมีเกณฑ์การจัดอันดับและการให้คะแนนที่แตกต่างกัน ได้แก่
{{ดูเพิ่มที่|อันดับมหาวิทยาลัยไทย||}}
{| class="wikitable" style="text-align:center;" width="10025%" align="right"
|-
! colspan="75" style="background-color: #8D38C9" |<span style="color:White"> อันดับมหาวิทยาลัย