ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานศึกษาวิกิพีเดียทางวิชาการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน แก้ deadurl
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 85:
 
ส่วนนักวิจัยที่แหล็บประมวลผลความรู้แพร่หลาย (Ubiquitous Knowledge Processing Lab) ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีดาร์มชตัทแห่ง[[ประเทศเยอรมนี]]ได้ใช้ความรู้เกี่ยวกับภาษาและโลกที่อยู่ในวิกิพีเดียและ[[วิกิพจนานุกรม]]เพื่อสร้างฐานความรู้เกี่ยวกับภาษาคล้ายกับทรัพยากรที่ผู้เชี่ยวชาญได้สร้างเช่น WordNet<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
'''WordNet''' เป็น[[ฐานข้อมูล]]วิเคราะห์ศัพท์สำหรับ[[ภาษาอังกฤษ]]<ref>{{cite journal | authorsauthor1 = Miller, GA;| author2 = Beckwith, R;| author3 = Fellbaum, CD;| author4 = Gross, D;| author5 = Miller, K | year = 1990 | title = WordNet: An online lexical database | journal = Int. J. Lexicograph | volume = 3 | issue = 4 | pages = 235-244 }} </ref>
ซึ่งจัดกลุ่มคำภาษาอังกฤษเป็นกลุ่ม[[ไวพจน์]]ที่เรียกว่า synsets, ให้นิยามสั้น ๆ และตัวอย่างการใช้คำ และระบุความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มไวพจน์เช่นนี้
จึงมองได้ว่าเป็น[[พจนานุกรม]]และ[[อรรถาภิธาน]]รวม ๆ กัน
บรรทัด 91:
ผู้ใช้หลักก็เป็นโปรแกรมวิเคราะห์บทอัตโนมัติและ[[ปัญญาประดิษฐ์]]
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***--><ref>{{cite conference | url = http://atlas.tk.informatik.tu-darmstadt.de/Publications/2008/lrec08_camera_ready.pdf | title = Extracting Lexical Semantic Knowledge from Wikipedia and Wiktionary | first1 = Torsten | last1 = Zesch | first2 = Christoph | last2 = Müller | first3 = Iryna | last3 = Gurevych | year = 2008 | booktitle = Proceedings of the Conference on Language Resources and Evaluation (LREC) | archiveurl = https://web.archive.org/web/20110719095723/http://atlas.tk.informatik.tu-darmstadt.de/Publications/2008/lrec08_camera_ready.pdf | archivedate = 2011-07-19 | url-status = live}}</ref>
ผู้เชี่ยวชาญชาวเยอรมันคู่หนึ่งได้สร้าง[[ขั้นตอนวิธี]]เพื่อระบุความสัมพันธ์ระหว่างคำต่าง ๆ โดยตรวจแวะผ่านวิกิพีเดียอังกฤษอาศัยการจัดหมวดหมู่ของบทความ แล้วสรุปว่า วิกิพีเดียได้สร้าง "[[อนุกรมวิธาน]]ที่สามารถแข่งขันกับ WordNet ในงานประมวลผลทางภาษา"<ref>{{Cite journal | title = WikiRelate! Computing semantic relatedness using Wikipedia psu.edu | authorsauthor1 = Strube, M; | author2 = Ponzetto, SP | publisher = Proceedings of the National Conference | year = 2006 | url = http://www.aaai.org/Papers/AAAI/2006/AAAI06-223.pdf | archiveurl = https://web.archive.org/web/20120324093812/http://www.aaai.org/Papers/AAAI/2006/AAAI06-223.pdf | archivedate = 2012-03-24 | url-status = live }}</ref>
 
== ข้อวิจารณ์เกี่ยวกับเนื้อหา ==
บรรทัด 122:
* {{cite journal | last1 = Szolnoki | first1 = Attila | last2 = Yasseri | first2 = Taha | last3 = Sumi | first3 = Robert | last4 = Rung | first4 = András | last5 = Kornai | first5 = András | last6 = Kertész | first6 = János | title = Dynamics of Conflicts in Wikipedia | journal = PLoS ONE | volume = 7 | issue = 6 | year = 2012 | pages = e38869 | issn = 1932-6203 | doi = 10.1371/journal.pone.0038869}}
</ref>
* ในปี 2014 ตีพิมพ์เป็นบทหนึ่งของหนังสือ บทมีชื่อ "ประเด็นก่อการโต้แย้งมากที่สุดในวิกิพีเดีย - การวิเคราะห์ในหลายภาษาและตามภูมิศาสตร์ (The Most Controversial Topics in Wikipedia: A Multilingual and Geographical Analysis)" ซึ่งวิเคราะห์จำนวนการแก้ไขบทความในภาษาต่าง ๆ ของวิกิพีเดีย 10 ภาษา เพื่อหาประเด็นที่ก่อการโต้เถียงมากที่สุดในภาษาต่าง ๆ และในกลุ่มภาษาต่าง ๆ สำหรับวิกิพีเดียอังกฤษ บทความที่ก่อการโต้เถียงมากสุดรวม[[จอร์จ ดับเบิลยู. บุช]], [[อนาธิปไตย]] และ[[มุฮัมมัด]] ประเด็นในภาษาอื่น ๆ ที่ก่อการโต้เถียงมากที่สุดคือ[[ประเทศโครเอเชีย]] (ใน[[วิกิพีเดียภาษาเยอรมัน]]), [[นักการเมือง]]ฝรั่งเศส[[เซกอแลน รัวยาล]] ([[วิกิพีเดียภาษาฝรั่งเศส]]), [[ประเทศชิลี]] ([[วิกิพีเดียภาษาสเปน]]) และ[[รักร่วมเพศ]] (ใน[[วิกิพีเดียภาษาเช็ก]])<ref>{{cite book | chapter = The most controversial topics in Wikipedia: A multilingual and geographical analysis | authorsauthor1 = Yasseri, T;| author2 =Spoerri, A;| author3 =Graham, M;| author4 =Kertész, J | editorseditor1 = Fichman, P;| editor2 = Hara, N | title = Global Wikipedia: International and cross-cultural issues in online collaboration | location = Lanham, Maryland | publisher = Rowman and Littlefield Press | year = 2014 | arxiv = 1305.5566 | isbn = 978-0-8108-9101-2 | oclc = 1026054095}}</ref>
 
=== นโยบายและแนวทาง ===
บรรทัด 381:
'''ดีบีพิเดีย''' (DBpedia, "DB" ย่อมาจากคำว่า database คือ[[ฐานข้อมูล]]) เป็นโครงการสกัดเนื้อหาที่มีโครงสร้างจากข้อมูลวิกิพีเดีย
โดยเข้าถึงได้ผ่าน[[เวิลด์ไวด์เว็บ]]<ref>{{Cite journal | doi = 10.1016/j.websem.2009.07.002 | title = DBpedia - A crystallization point for the Web of Data | year = 2009 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20170810035101/http://www.wiwiss.fu-berlin.de/en/fachbereich/bwl/pwo/bizer/research/publications/Bizer-etal-DBpedia-CrystallizationPoint-JWS-Preprint.pdf | archivedate = 2017-08-10 | url-status = dead | url = http://www.wiwiss.fu-berlin.de/en/fachbereich/bwl/pwo/bizer/research/publications/Bizer-etal-DBpedia-CrystallizationPoint-JWS-Preprint.pdf }}<!-- Bizer, Christian; Lehmann, Jens; Kobilarov, Georgi; Auer, Soren; Becker, Christian; Cyganiak, Richard; Hellmann, Sebastian (September 2009). "DBpedia - A crystallization point for the Web of Data" (PDF). Web Semantics: Science, Services and Agents on the World Wide Web. 7 (3): 154-165. CiteSeerX 10.1.1.150.4898. doi:10.1016/j.websem.2009.07.002. ISSN 1570-8268. Archived from the original (PDF) on 10 August 2017. Retrieved 11 December 2015. --></ref>
ซึ่งช่วยให้[[ผู้ใช้ (ระบบ)|ผู้ใช้]]สามารถสอบความสัมพันธ์และลักษณะต่าง ๆ ของทรัพยากรวิกิพีเดีย รวมทั้ง[[ไฮเปอร์ลิงก์|ลิงก์]]ไปยังชุดข้อมูลอื่น ๆ<ref>{{cite web | title = Komplett verlinkt — Linked Data | date = 2009-06-19 | language = [[ภาษาเยอรมัน]]de | url = http://www.3sat.de/dynamic/sitegen/bin/sitegen.php?tab=2&source=/neues/sendungen/magazin/135119/index.html | archiveurl = https://archive.today/20130106124818/http://www.3sat.de/dynamic/sitegen/bin/sitegen.php?tab=2&source=/neues/sendungen/magazin/135119/index.html | archivedate = 2013-01-06 | url-status = dead | publisher = 3sat.de | accessdate = 2009-11-10 }}</ref>
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->ได้ใช้เนื้อหามีโครงสร้าง (structured content) ที่ดึงมาจาก[[วิธีใช้:กล่องข้อมูล|กล่องข้อมูล]]ของวิกิพีเดียภาษาต่าง ๆ ด้วยขั้นตอนวิธี[[การเรียนรู้ของเครื่อง]]เพื่อสร้างทรัพยากรเป็นข้อมูลลิงก์ (linked data) ภายใน[[เว็บเชิงความหมาย]]<ref>{{cite book | title = A Developer's Guide to the Semantic Web | last = Yu | first = Liyang | publisher = Springer | year = 2011 | isbn = 978-3-642-15969-5 | doi = 10.1007/978-3-642-15970-1}}</ref>
 
== สถิติการดูวิกิพีเดียและพฤติกรรมมนุษย์ ==
งานศึกษาหนึ่งที่ตีพิมพ์ใน[[วารสารวิทยาศาสตร์]] ''PLoS ONE''<ref>{{cite journal | authorsauthor1 = Mestyán, Márton;| author2 =Yasseri, Taha;| author3 = Kertész, János | title = Early Prediction of Movie Box Office Success Based on Wikipedia Activity Big Data | journal = PLoS ONE | volume = 8 | issue = 8 | pages = e71226 | year = 2013 <!-- | accessdate = 2013-09-02 --> | doi = 10.1371/journal.pone.0071226 | arxiv = 1211.0970 | bibcode = 2013PLoSO...871226M | pmid = 23990938 | pmc = 3749192}}</ref>
นักวิชาการผู้หนึ่งจากสถาบันอินเทอร์เน็ตแห่งออกซฟอร์ด ({{abbr |OII| Oxford Internet Institute }}) และผู้ร่วมงานจากมหาวิทยาลัยเซนทรัลยุโรเปียน ({{abbr |CEU| Central European University }}) ได้แสดงว่า สถิติการดูหน้าเกี่ยวกับ[[ภาพยนตร์]]มี[[สหสัมพันธ์]]ที่ดีกับรายได้ภาพยนตร์
พวกเขาได้พัฒนา[[แบบจำลองคณิตศาสตร์]]ที่พยากรณ์รายได้ภาพยนตร์โดยวิเคราะห์จำนวนดูหน้าบวกกับจำนวนการแก้ไขและจำนวนผู้แก้ไข (เป็นเอกบุคคล) หน้าเกี่ยวกับภาพยนตร์
แม้แบบจำลองนี้จะได้พัฒนาโดยใช้ข้อมูลของวิกิพีเดียอังกฤษ แต่วิธีการที่ใช้เป็นอิสระจากภาษา จึงสามารถใช้กับภาษาอื่น ๆ และใช้กับ[[ผลิตภัณฑ์]]อื่น ๆ นอกเหนือจากภาพยนตร์<ref>{{cite web | url = https://www.theguardian.com/science/2012/nov/08/wikipedia-buzz-blockbuster-movies-takings | title = Wikipedia buzz predicts blockbuster movies' takings weeks before release | work = The Guardian | date = 2012-11-08 | accessdate = 2013-09-02 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20190417224405/https://www.theguardian.com/science/2012/nov/08/wikipedia-buzz-blockbuster-movies-takings | archivedate = 2019-04-17 | url-status = live}}</ref>
 
ในงานศึกษาอีกงานหนึ่งที่ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ ''Scientific Reports'' ในปี 2013<ref>{{cite journal | authorsauthor1 = Moat, Helen Susannah;| author2 = Curme, Chester;| author3 = Avakian, Adam;| author4 = Kenett, Dror Y;| author5 = Stanley, H Eugene;| author6 = Preis, Tobias | title = Quantifying Wikipedia Usage Patterns Before Stock Market Moves | journal = Scientific Reports | volume = 3 | pages = 1801 | year = 2013 <!-- | accessdate = 2013-08-09 --> | doi = 10.1038/srep01801 | bibcode = 2013NatSR...3E1801M | pmc = 3647164 }}</ref>
ทีมนักวิชาการได้แสดงว่า การเปลี่ยนแปลงจำนวนการดูหน้าบทความวิกิพีเดียอังกฤษเกี่ยวกับการเงินสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ใน[[ตลาดหลักทรัพย์]]สหรัฐ<ref>
{{cite web | url = http://www.ft.com/intl/cms/s/0/97170c1a-b96f-11e2-9a9f-00144feabdc0.html | title = Wikipedia's crystal ball | work = Financial Times | date = 2013-05-10 | accessdate = 2013-08-10}}</ref><ref>