ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุคเรืองปัญญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แก้ไขคำแปล
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Rousseau.jpg|250px|thumbnail|right|[[ฌ็อง-ฌัก รูโซ]] บุคคลสำคัญจากยุคเรืองปัญญา]]
'''ยุคเรืองปัญญา''' ({{lang-en|''Age of Enlightenment''}}; {{lang-fr|''Siècle des Lumières''}}) คือหรือ '''ยุคแสงสว่าง''' เป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของเหล่าปัญญาชนในยุโรปและอาณานิคมบนทวีปอเมริกาช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 18]] โดยมีเป้าหมายเพื่อปฏิรูปสังคมและส่งเสริมการใช้หลักเหตุผลมากกว่าการใช้หลักจารีต หรือสิทธันตนิยม (dogmatism) ความเชื่อ และการเปิดเผยจากพระเจ้า รวมไปถึงส่งเสริมความรู้ทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง. การเคลื่อนไหวยังสนับสนุนในยุคเรืองปัญญาให้ความสำคัญเป็นพิเศษต่อเสรีภาพในการแสดงออก และการแลกเปลี่ยนความรู้หรือการใช้ปัญญา เพื่อต่อต้านความเชื่อทางไสยศาสตร์<ref>Ellen Wilson and Peter Reill, ''Encyclopedia of the Enlightenment'' (2004) p 577</ref>, โมหาคติ และการชักนำสั่งสอนที่เคลือบคลุมหรือไม่เปิดโอกาสให้ผิดเพี้ยนตั้งคำถาม (obscurantism) จากทางคริสตจักรและรัฐบาล. ลักษณะที่สำคัญของทัศนคติในยุคเรืองปัญญา คือ แนวคิดมนุษย์นิยมที่เชื่อในตัวมนุษย์และสติปัญญาของมนุษย์ว่าสามารถเข้าใจถึงความจริงของทั้งโลกกายภาพ และก้นบึ้งของปัญหาทางศีลธรรมและการปกครองในสังคมมนุษย์ โดยไม่จำต้องยอมศิโรราบต่อจารีตที่สืบทอดกันมา. ภาษิตประจำใจที่ใช้กันแพร่หลายของปัญญาชนในยุคนี้ ได้แก่ ภาษิตละตินว่า ''Sapere aude'' ("จงกล้าที่จะใช้ปัญญา").<ref><ref>{{citation|author=Gay, Peter|title=The Enlightenment: An Interpretation|url=https://archive.org/details/enlightenmentint02gayp|year=1996|publisher=W.W. Norton & Company|isbn=0-393-00870-3|url-access=registration}}</ref></ref>
 
ยุคเรืองปัญญาเริ่มตั้นขึ้นในช่วงประมาณปี ค.ศ. 1650 - 1700 โดยถูกจุดประกายจากเหล่าปัญญาชนนักปราชญ์และนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ เช่น [[เรอเน เดการ์ต]] (1596–1650), [[บารุค สปิโนซา]] (1632–1677), [[จอห์น ล็อก]] (1632–1704), [[ปิแยร์ เบย์ล]] (1647–1706), [[ไอแซก นิวตัน]] (1643–1727), [[วอลแตร์]] (1694–1778). นอกจากนี้เจ้าผู้ปกครองก็มักจะสนับสนุน และคล้อยตามบุคคลสำคัญเหล่านี้ จนในที่สุดก็รับเอาแนวคิดจากชนชั้นอุดมจุดเริ่มต้นของยุคเรืองปัญญามีที่มาปรับใช้กับจากการบริหารปกครองผนวกเข้าด้วยกันของรัฐบาลตนเอง จึงมีอุดมคติว่าด้วยมนุษย์นิยมของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการเรียกเจ้านายเหล่านี้ว่า ''กับการบุกเบิกความรู้และการค้นพบในสาขา[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม|ประมุขผู้ทรงภูมิธรรมปรัชญาธรรมชาติ]]''หรือ[[วิทยาศาสตร์]]สมัยใหม่ การเรืองปัญญานี้เบ่งบานอยู่จนกระทั่งช่วงปีเช่น ค.ศ. 1790 - 1800 เมื่อความสำคัญจากงานเขียนของเหตุผลถูกแทนที่ด้วยความสำคัญของอารมณ์ความรู้สึก ในแนวคิดแบบเซอร์[[ศิลปะจินตนิยมฟรานซิส เบคอน]] ฝ่ายต่อต้านและการเรืองปัญญาจึงมีกำลังขึ้นอีกครั้ง<refค้นพบเทคนิคทางคณิตวิเคราะห์สมัยใหม่ของนักปรัชญาฝรั่งเศส name="Casey">{{citeเรอเน webเดการ์ต |ผู้เป็นเจ้าของภาษิตว่า last''Cogito =ergo Casey | first = Christopher | date = October 30, 2008 | title =sum'' ("Grecianเพราะข้าพเจ้าสงสัย Grandeurs and the Rude Wasting of Old Timeข้าพเจ้าจึงมีตัวตน": Britain, the Elgin Marbles, and Post-Revolutionary Hellenism | work = Foundations). Volume III, Number 1 | url = http://ww2.jhu.edu/foundations/?p=8| accessdate = 2009-06-25 }}</ref>
 
เมื่อพูดถึงปรัชญาว่าด้วยสังคมและการเมืองแล้ว ยุคเรืองปัญญาได้ให้กำเนิดแนวคิดและมโนทัศน์ใหม่ ๆ ที่ยังส่งอิทธิพลมาจนถึงยุคปัจจุบัน เช่น เสรีภาพ ภราดรภาพ ความอดกลั้น การแยกศาสนาออกจากการปกครอง และรัฐบาลภาตใต้รัฐธรรมนูญ. แนวคิดเหล่านี้มีอิทธิพลต่อเจ้าผู้ปกครองร่วมสมัยจำนวนไม่น้อย ซึ่งให้การสนับสนุนแนวความคิดสำคัญเหล่านี้ จนในที่สุดก็รับเอามโนทัศน์จากชนชั้นอุดมปัญญามาปรับใช้กับการบริหารปกครองของรัฐบาลตนเอง จึงมีการเรียกเจ้านายเหล่านี้ว่า ''[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม|ประมุขผู้ทรงภูมิธรรม]].'' การเรืองปัญญานี้เบ่งบานอยู่จนกระทั่งช่วงปี ค.ศ. 1790 - 1800 เมื่อความสำคัญของเหตุผลถูกแทนที่ด้วยความสำคัญของอารมณ์ความรู้สึก ในแนวคิดแบบ[[ศิลปะจินตนิยม]] ฝ่ายต่อต้านการเรืองปัญญาจึงมีกำลังขึ้นอีกครั้ง.<ref name="Casey">{{cite web | last = Casey | first = Christopher | date = October 30, 2008 | title = "Grecian Grandeurs and the Rude Wasting of Old Time": Britain, the Elgin Marbles, and Post-Revolutionary Hellenism | work = Foundations. Volume III, Number 1 | url = http://ww2.jhu.edu/foundations/?p=8| accessdate = 2009-06-25 }}</ref>
ในฝรั่งเศส ยุคเรืองปัญญาก่อกำเนิดขึ้นจากการรวมกลุ่มสนทนากันตาม[[ซาลอน (การชุมนุม)|ซาลอน]] และต่อมานำไปสู่โครงการสร้างและเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะที่ทะเยอทะยาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[สารานุกรม หรือพจนานุกรมอันเป็นระบบว่าด้วยวิทยาศาสตร์ ศิลปกรรม และหัตถกรรม|สารานุกรม]] หรือ ''L'encyclopédie'' (1751-1752) ที่มีเดนนิส ดิเดรอต (1713–1784) เป็นบรรณาธิการใหญ่ โดยเป็นการนำบทความความรู้หลากหลายสาขา - ซึ่งไม่เพียงแต่สาขาปรัชญา หรือวรรณกรรม แต่รวมไปถึงความในสาขาวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม และการหัตถกรรม - หลายพันชิ้นมารวบรวมไว้ โดยมีผู้รู้คนสำคัญของยุคเป็นผู้สนับสนุนช่วยเขียนบทความ เช่น [[วอลแตร์]], [[ฌ็อง-ฌัก รูโซ]] และ[[มงแต็สกีเยอ]] สำเนาของสารานุกรมชุด 35 เล่มนี้ ถูกขายมากกว่า 25,000 ชุด ซึ่งครึ่งหนึ่งในจำนวนนี้ถูกขายนอกฝรั่งเศส แรงขับเคลื่อนจากการเรืองปัญญาแพร่ขยายไปตามชุมชนเมืองทั่วทั้งยุโรป โดยเฉพาะในอังกฤษ, สกอตแลนด์, รัฐเยอรมันต่าง ๆ, เนเธอร์แลนด์, รัสเซีย, อิตาลี, ออสเตรีย และจากนั้นจึงไปขยายไปยังอาณานิคมของชาติยุโรปในทวีปอเมริกา ที่ซึ่งได้มีอิทธิพลต่อบุคคลสำคัญอย่าง[[เบนจามิน แฟรงคลิน]]และ[[ทอมัส เจฟเฟอร์สัน]] รวมทั้งอีกหลายๆ คน นอกจากนี้ยังส่งอิทธิพลอย่างมากต่อ[[สงครามปฏิวัติอเมริกัน|การปฏิวัติอเมริกัน]] แนวคิดและทฤษฎีทางการเมืองจากยุคเรืองปัญญานี้เองที่มีอิทธิพลต่อ[[คำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา]], ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยสิทธิ์ของสหรัฐอเมริกา, [[คำประกาศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง]]ของฝรั่งเศส และรัฐธรรมนูญวันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1791 ของ[[เครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย]]<ref>Robert R. Palmer, ''The Age of the Democratic Revolution'' (1964)</ref>
 
ในฝรั่งเศส ยุคเรืองปัญญาก่อกำเนิดขึ้นจากการรวมกลุ่มสนทนากันตาม[[ซาลอน (การชุมนุม)|ซาลอน]] และต่อมานำไปสู่โครงการสร้างและเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะที่ทะเยอทะยาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[สารานุกรม หรือพจนานุกรมอันเป็นระบบว่าด้วยวิทยาศาสตร์ ศิลปกรรม และหัตถกรรม|สารานุกรม]] หรือ ''L'encyclopédie'' (1751-1752) ที่มีเดนนิส[[เดอนี ดิเดรอตดีเดอโร]] (1713–1784) เป็นบรรณาธิการใหญ่ โดยเป็นการนำบทความความรู้หลากหลายสาขา - ซึ่งไม่เพียงแต่สาขาปรัชญา หรือวรรณกรรม แต่รวมไปถึงความรู้หรือการค้นพบใหม่ในสาขาวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม และการหัตถกรรม - หลายพันชิ้นมารวบรวมไว้ โดยมีผู้รู้คนสำคัญของยุคเป็นผู้สนับสนุนช่วยเขียนบทความ เช่น [[วอลแตร์]], [[ฌ็อง-ฌัก รูโซ]] และ[[มงแต็สกีเยอ]] สำเนาของสารานุกรมชุด 35 เล่มนี้ ถูกขายมากกว่า 25,000 ชุด ซึ่งครึ่งหนึ่งในจำนวนนี้ถูกขายนอกฝรั่งเศส. แรงขับเคลื่อนจากการเรืองปัญญาแพร่ขยายไปตามชุมชนเมืองทั่วทั้งยุโรป โดยเฉพาะในอังกฤษ, สกอตแลนด์, รัฐเยอรมันต่าง ๆ, เนเธอร์แลนด์, รัสเซีย, อิตาลี, ออสเตรีย และจากนั้นจึงไปขยายไปยังอาณานิคมของชาติยุโรปในทวีปอเมริกา ที่ซึ่งได้มีอิทธิพลต่อบุคคลสำคัญอย่าง[[เบนจามิน แฟรงคลิน]]และ[[ทอมัส เจฟเฟอร์สัน]] รวมทั้งอีกหลายๆชนชั้นอุดมปัญญาในวงกว้าง คน นอกจากนี้ยังส่งอิทธิพลอย่างมากต่อ[[สงครามปฏิวัติอเมริกัน|การปฏิวัติอเมริกัน]]. แนวคิด มโนทัศน์และทฤษฎีทางการเมืองจากยุคเรืองปัญญานี้เองที่มีอิทธิพลต่อ[[คำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา]], ร่างพระราชบัญญัติข้อแก้ไขรัฐธรรมนูญว่าด้วยสิทธิ์สิทธิพลเมือง (Bill of Rights) ของสหรัฐอเมริกา, [[คำประกาศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง]]ของฝรั่งเศส และรัฐธรรมนูญวันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1791 ของ[[เครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย]]<ref>Robert R. Palmer, ''The Age of the Democratic Revolution'' (1964)</ref>
 
== บุคคลสำคัญของยุคนี้ ==