ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วินิตา ดิถียนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Savekmaner (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขเนื้อหา
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Savekmaner (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขเนื้อหา
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 27:
| footnotes =
}}
รองศาสตราจารย์ คุณหญิง'''วินิตา ดิถียนต์''' (เกิด 14 มีนาคม พ.ศ. 2492) เป็น[[นักประพันธ์]]นวนิยายชาวไทย นามปากกาที่เป็นที่รู้จัก คือ '''แก้วเก้า''', '''ว.วินิจฉัยกุล''', '''รักร้อย''', '''ปารมิตา''', '''วัสสิกา''', '''อักษรานีย์''' และเป็น[[ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์]] ประจำปี พ.ศ. 2547
 
==ประวัติ==
บรรทัด 161:
<div style="-moz-column-count:3; column-count:3;">
* แก้วราหู
* [[คนเหนือดวง]]
* คุณป้ามาธูร ตอน คดีเจ้าสาวหาย
* คุณป้ามาธูร ตอน คดีศึกวังน้ำร้อน
* จอมนาง
* [[เงาพราย]]
* [[จากฝัน...สู่นิรันดร]]
* [[ดอกแก้วการะบุหนิง]]
* [[แต่ปางก่อน]]
* [[นาคราช]]
* [[นางทิพย์]]
* มนตรา (นางทิพย์ ภาค ๒)
* [[นิรมิต]]
* [[ปลายเทียน]]
* [[ผ้าทอง]]
* พญาปลา
* [[พิมมาลา]]
* [[เรือนนพเก้า]]
* [[เรือนมยุรา]]
* วสันต์ลีลา
* [[วิมานมะพร้าว]]
บรรทัด 191:
* พลอยเก้าสี
* เทวาวาด
* [[นิมิตมาร]]
* [[จงกลกิ่งเทียน]]
* ช่อมะลิลา
บรรทัด 199:
* สาวสองวิญญาณ
* เมืองมธุรส
 
===ผลงานปัจจุบัน===
 
* เจ้าสาวในสายลม (ว.วินิจฉัยกุล)
* เมืองมธุรส (แก้วเก้า)
*ร่มไม้ใบบาง (ว.วินิจฉัยกุล)
 
</div>
เส้น 214 ⟶ 208:
#รางวัลพระเกี้ยวทองคำ นิสิตเก่าดีเด่นของ[[คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ประจำปี พ.ศ. 2544
#รางวัลเกียรติคุณเซอร์เวียม หรือ Angela Award ของชมรมศิษย์อุร์สุลิน แห่งประเทศไทย ในฐานะศิษย์เก่า[[โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย]] ที่ได้รับใช้สังคมอย่างมีคุณภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2547
#[[ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์]] (National Artist) ปี พ.ศ. 2547
#ครอบครัวประชาธิปไตยตัวอย่าง(ครอบครัว’ดิถียนต์’ สมพันธ์-คุณหญิงวินิตา ดิถียนต์) ประจำปี พ.ศ. 2548 จากคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ
#เป็นชาวต่างชาติคนแรก ที่ได้รับปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (Doctor of Humane Letters) จากสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนอร์เทิร์นโคโลราโด [[รัฐโคโลราโด]] [[สหรัฐ]] ประจำปี พ.ศ. 2548 ในฐานะศิษย์เก่า ที่ได้สร้างผลงานวรรณกรรมจนได้รับรางวัลระดับชาติเป็นจำนวนมาก และนำชื่อเสียงมาให้มหาวิทยาลัย