ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องหมายการค้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 23:
 
== อ้างอิง ==
พระราชบัญญัติเครื่องหมาย'''การค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 2)'''
 
เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์หรือตราที่ใช้กับสินค้าหรือบริการ ซึ่งเครื่องหมายที่ให้ความคุ้มครองตาม พ.ศ. 2543 มี 4 ประเภท ดังต่อไปนี้
===เครื่องหมายการค้า===
เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) คือเครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพื่อแสดงว่าสินค้าที่ ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น บรีส โอโม เปา แอทแทค คอลเกต มาม่า กระทิงแดง เป็นต้น
 
    ให้ยื่นต่อสำนักงานระหว่างประเทศ (International Bureau)  ขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก (WIPO)  โดยยื่นผ่านสำนักงานทะเบียนต้นกำเนิดของประเทศผู้ขอ  ซึ่งจะดำเนินการตรวจสอบและรับรองว่าเครื่องหมายที่ยื่น  สินค้าและ/หรือบริการที่ระบุ  เหมือนกับคำขอรากฐาน (Basic Application)  หรือทะเบียนรากฐาน (Basic Registration)
===เครื่องหมายบริการ===
เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับบริการ เพื่อแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมาย บริการของบุคคลอื่น เช่น เครื่องหมายของสายการบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นต้น
===เครื่องหมายรับรอง===
เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) คือ เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับ สินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนั้น เช่น เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางรำ ฮาลาล (Halal) เป็นต้น
===เครื่องหมายร่วม===
เครื่องหมายร่วม (Collective Mark) คือ เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้โดยบริษัทหรือวิสาหกิจในกลุ่ม เดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เช่น ตราช้างของบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด
 
 
เป็นต้น <ref name=":0" />{{รายการอ้างอิง}}
    คำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่จะนำไปยื่นขอจดทะเบียนระหว่างประเทศตามพิธีสารกรุงมาดริดได้นั้น  ต้องเป็นคำขอที่มีการยื่นขอจดทะเบียน หรือได้รับการจดทะเบียนไว้แล้วในประเทศต้นกำเนิดการจดทะเบียน  การจดทะเบียนแบ่งออกเป็น  2 ขั้นตอน คือ
 
 
'''1.  ขั้นตอนระหว่างประเทศ'''
 
 
     เมื่อสำนักงานระหว่างประเทศได้รับคำขอจดทะเบียน จะดำเนินการตรวจสอบเบื้องต้น (Formal Examination)  ในเรื่องความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของพิธีสารกรุงมาดริดและกฎข้อบังคับพิธีสารกรุงมาดริด (Common Regulations)  การระบุจำพวกและรายการสินค้าและ/หรือบริการ ว่าเป็นไปตาม Nice Classification  หรือไม่  รวมทั้งการชำระค่าธรรมเนียม หากมีข้อบกพร่อง  สำนักงานระหว่างประเทศจะแจ้งไปยังประเทศที่มีการยื่นคำขอและผู้ยื่นคำขอ  ทั้งนี้ ผู้ยื่นคำขอจะต้องแก้ไขภายใน 3 เดือน มิฉะนั้นจะถือว่าละทิ้งคำขอ
 
เป็นต้น <ref name=":0" />{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. "8.2.2 การตัดสินใจด้านตราสินค้า". ''เอกสารการสอนชุดวิชาการจัดการการตลาด หน่วยที่ 8-15''. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552. หน้า 42–58. ISBN 974-643-355-5