ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลพระตรีมูรติ เซ็นทรัลเวิลด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 2:
'''ศาลพระตรีมูรติ เซ็นทรัลเวิลด์''' ({{lang-en|The Trimurti Shrine, Central World}}) เป็น[[เทวสถาน|ศาล]]ของ[[พระตรีมูรติ]]ตั้งอยู่บนลานด้านหน้าส่วนห้าง[[อิเซตัน]] ของ[[เซ็นทรัลเวิลด์]] คู่กับ[[ศาลพระพิฆเนศวร เซ็นทรัลเวิลด์]] [[แขวงปทุมวัน]] [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]]
 
สาเหตุที่สร้างนั้นย้อนกลับไปถึงประวัติของห้างเซ็นทรัลเวิลด์ (ขณะนั้นใช้ชื่อว่า''เวิลด์เทรดเซ็นเตร์เซ็นเตอร์'') สร้างขึ้นบนพื้นที่เดิมของ[[วังเพ็ชรบูรณ์]] อันสร้างขึ้นเพื่อให้เป็นที่ประทับของ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย]] พระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มหาราช และเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.​2533 เชื่อกันว่า หลังเปิดตัวผลประกอบการนั้นไม่เป็นไปตามคาดหวัง เกิดอุปสรรคต่าง ๆ นักธุรกิจเจ้าของห้างจึงเชื่อว่าเป็น[[อาถรรพ์]]ประกอบกับคำบอกเล่าที่ว่า [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงเคยนำรูปพระตรีมูรติ ที่สร้างในสมัย[[พระนเรศวร]] มหาราช มาประดิษฐานไว้ที่วังแห่งนี้ แต่สุดท้ายได้สูญหายไปในที่สุด จึงได้สร้างศาลฯ แห่งนี้ขึ้นมาเพื่อแก้เคล็ดตามคำบอกเล่า<ref name="แมตเตอร์"/>
 
เดิมศาลพระตรีมูรติตั้งอยู่บริเวณหัวมุม[[แยกราชประสงค์]] แต่เมื่อ[[เซ็นทรัลพัฒนา]]เข้าปรับปรุงศูนย์การค้าและเปลี่ยนชื่อจาก "เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์" เป็น "เซ็นทรัลเวิลด์" ได้ย้ายศาลดังกล่าวไปอยู่คู่กับศาลพระพิฆเนศวร ส่วนพื้นที่เดิมได้ปรับปรุงเป็นลานน้ำพุ และ[[แอปเปิลสโตร์]]ตามลำดับ{{อ้างอิง}}
 
ศาลแห่งนี้มีข้อเท็จจริงที่ผิดไปหลายประการ เริ่มจากคำบอกเล่าที่อ้างถึงการประดิษฐานพระตรีมูรติของรัชกาลที่ 4 ด้านหน้าวังเพ็ชร์บูรณ์นั้น ขัดกับข้อเท็จจริงที่วังเพ็ชรบูรณ์สร้างขึ้นในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ซึ่งความเข้าใจผิดนี้นักประวัติศาสตร์เชื่อกันว่าเริ่มมาจากการตีความผิดถึงประวัติศาสตร์ที่ระบุถึงการสร้างวังแห่งหนึ่งของรัชกาลที่ 4 ในบริเวณย่านปทุมวันปัจจุบัน ซึ่งจริง ๆ คือ [[วังสระปทุม]] ไม่ใช่วังเพ็ชรบูรณ์<ref>http://readjournal.org/contents/serhat-15/</ref>