ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 98:
== ประวัติ ==
 
เมื่อปี [[พ.ศ. 2533]] คณะรัฐมนตรีมีมติให้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ขั้นโดยให้กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงการและรับผิดชอบงาน ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2534]] ได้รับอนุมัติให้จัดโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ|สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] เนื่องในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๓๕ กำหนดกรอบงบประมาณโครงการ 650 ล้านบาทและเริ่มก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ในปี [[พ.ศ. 2537]] จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2538]] ได้มีพระราชกำหนดจัดตั้งองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ (อพวช.) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ [[30 มกราคม]] [[พ.ศ. 2538]] โดยพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ เปิดให้เข้าชมอย่างเป็นทางการ ในวันที่ [[8 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2543]] <ref>[http://www.most.go.th/main/index.php/about-us/structural-units/state-enterprise/nsm.html กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]</ref>
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 อพวช. เปิดให้บริการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน มีพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการประมาณ 3,000 ตารางเมตร จัดแสดงนิทรรศการที่เกี่ยวกับกำเนิดโลกและสิ่งมีชีวิต การจำแนกประเภทสิ่งมีชีวิตต่างๆ รวมถึงมีการเก็บรักษาตัวอย่างทางธรรมชาติวิทยา
บรรทัด 106:
ปี พ.ศ. 2557 เปิดให้บริการพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ในอาคารที่มีพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการรวม 9,300 ตารางเมตร เนื้อหาหลักแสดงถึงวิวัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสารและการคำนวณ ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์ และพัฒนาต่อมาเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศหลากหลายรูปแบบในปัจจุบัน
 
ปี พ.ศ. 2562 อพวช. เปิดให้บริการพิพิธภัณฑ์เพิ่มขึ้นอีก 1 แห่ง คือ พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า ซึ่งจะนำเสนอนิทรรศการที่แสดงถึงวิวัฒนาการของโลกและสิ่งมีชีวิตต่างๆ ระบบนิเวศวิทยาของภูมิภาคต่างๆ แสดงถึงความหลากหลายทางชีวภาพทั้งในภาพรวมของทั้งโลกและของประเทศไทย และมีส่วนจัดแสดงที่นำเสนอหลักการทรงงานของ[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] รัชกาลที่ 9 ที่แสดงให้เห็นถึงการที่ทรงนำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ ให้กับประชาชน โดยมีพิธีเปิดไปเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2562
 
== การจัดแสดง ==